เรื่อง: แนวทางพัฒนาการถ่ายภาพทางอากาศของกองทัพอากาศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ประดิษฐ์ ภู่บำเพ็ญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2548
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางพัฒนาการถ่ายภาพทางอากาศของกองทัพอากาศไทย
โดย : นาวาอากาศเอกประดิษฐ์ ภู่บ าเพ็ญ
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
( อภิชาต แก้วประสพ )
พฤษภาคม ๒๕๕๐
กองทัพอากาศเป็นหน่วยทหารที่ใช้ก าลังทางอากาศในการป้องกันอธิปไตย และ
นอกจากน้นั กองทพัอากาศยงัใชข้ีดความสามารถในการปฏิบตัิการทางอากาศสนับสนุนภารกิจ
ของหน่วยงานอื่นเพื่อพัฒนาประเทศอีกด้วย ในการปฏิบัติภารกิจของกองทัพอากาศมีองค์ประกอบ
ที่ส าคัญประการหนึ่งที่ท าให้ภารกิจประสบความส าเร็จคือ ข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว เพียงพอ และ
เชื่อถือได้ ภาพถ่ายทางอากาศที่ได้จากการลาดตระเวนถ่ายภาพทางอากาศ นบัว่าเป็นสิ่งที่ตอบสนอง
สิ่งดงักล่าวไดเ้ป็นอย่างดี
การวิจยัคร้ังน้ีมีความตอ้งการพ้ืนฐาน ที่จะศึกษาในเรื่องการถ่ายภาพทางอากาศใน
ปัจจุบัน ศึกษาความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องในภารกิจการถ่ายภาพทางอากาศของกองทัพอากาศ
และก าหนดแนวทางพัฒนาการถ่ายภาพทางอากาศ เพื่อใช้เป็นแนวทางพัฒนาระบบการถ่ายภาพทาง
อากาศของกองทัพอากาศในยุคดิจิตอล
ส าหรับสมมติฐานของการวิจยัคร้ังน้ีผูว้ิจยัไดต้้งัไว้ ๓ ประการ คือ แบบของการ
ถ่ายภาพทางอากาศในปัจจุบันมีความเหมาะสม และยังมีความจ าเป็นต่อภารกิจของกองทัพอากาศ
การพัฒนาการถ่ายภาพทางอากาศให้เป็นระบบดิจิตอล จะท าให้ประสิทธิภาพในการสนับสนุน
ภารกิจดีข้ึน และการใชก้ลอ้งถ่ายรูปทางอากาศระบบดิจิตอล จะช่วยให้ประหยดังบประมาณในการ
ผลิตภาพถ่ายทางอากาศมากข้ึนวิธีด าเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยรวบรวมข้อมูล ทฤษฎี ผลงาน
การศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง ต ารา เอกสารทางวิชาการ บทความ ผลการปฏิบัติงานถ่ายภาพทางอากาศที่
ผ่านมา และแนวความคิดเห็นของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายภาพทางอากาศ น ามาศึกษาวิเคราะห์
เพื่อให้ทราบแนวทางที่เหมาะสมส าหรับการพัฒนา การถ่ายภาพทางอากาศของกองทัพอากาศไทย
ในอนาคต
ผลการวิจัย พบว่า ในปัจจุบันยังไม่มีระบบการถ่ายภาพทางอากาศแบบใดที่สามารถจะ
สนับสนุนได้ทุกภารกิจได้ ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายภาพระบบ Optic การถ่ายภาพระบบ Thermographic
หรือการถ่ายภาพด้วยระบบ RADAR แต่การจะท าให้มีภาพถ่ายมาสนับสนุนภารกิจได้อย่างสมบูรณ์
ยงัมีความจา เป็นตอ้งใชร้ะบบการถ่ายภาพทางอากาศท้งั ๓ ระบบมาใชง้านในลกัษณะเสริมซ่ึงกนั
และกัน แต่จากการวิเคราะห์ถึงความต้องการใช้ภาพถ่าย รวมถึงความยากง่าย ในการใช้งาน
ภาพถ่ายที่ได้มาจากแต่ละระบบแล้ว กองทัพอากาศยังไม่มีความจ าเป็นต้องมีระบบการถ่ายภาพด้วย
ระบบ RADAR แต่ควรพัฒนาระบบถ่ายภาพทางอากาศระบบ Optic ที่บันทึกภาพด้วยฟิ ล์มให้เป็น
กล้องถ่ายรูปทางอากาศระบบ Optic แบบดิจิตอล มาใช้งานร่วมกับกล้องบันทึกภาพถ่ายทางอากาศ
ระบบ Thermograpic ที่มใีชร้าชการในปัจจุบนั อีกท้งัตอ้งพฒั นาอุปกรณ์ในการผลิตภาพถ่ายทาง
อากาศ และอุปกรณ์การแปลความภาพถ่ายทางอากาศ ให้เป็นระบบดิจิตอลด้วย ซึ่งนับว่าเพียง
พอที่จะสนับสนุนภารกิจของกองทัพอากาศได้แล้ว
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ภาพถ่ายทางอากาศที่มีเป้าหมายในประเทศ และตามแนว
ชายแดนที่มีความลึกเข้าไปในเขตแดนประเทศอื่นไม่เกิน ๕๐ กิโลเมตร ให้ใช้กล้องถ่ายภาพทาง
อากาศของกองทัพอากาศ ส าหรับภาพถ่ายนอกประเทศให้ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมที่ให้ค่าความชัดเจน
เหมาะสมในแต่ละภารกิจ PLATFORM หรืออากาศยานที่ใช้ในภารกิจการลาดตระเวนถ่ายภาพทาง
อากาศในแต่ละภารกิจ ตอ้งมีการจดั หามาทดแทน รวมท้งัอุปกรณ์ถ่ายภาพทางอากาศ อุปกรณ์ผลิต
ภาพถ่ายทางอากาศ และอุปกรณ์แปลความภาพถ่ายทางอากาศต้องพัฒนาให้เป็นระบบดิจิตอล และ
ดา้นบุคลากร ตอ้งมีการบรรจุเพิ่มรวมท้งัพฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ดา้นเทคโนโลยีดิจิตอลให้
สามารถรองรับการพัฒนาด้วยABSTRACT
Title : Guide Line Of RTAF Aerial Photography Development
By : Group captain Pradit Poobampen
Major Field : Military
Research Advisor : Group captain
( Apichart Kaewprasop)
May 2007
RTAF employed the Air Power to protect the nation sovereinty. In addition, RTAF
still employing the capabilities of aerial photography to support another government units for the
country development as well. All missions that RTAF performed had the one significantly role
that made the whole missions to chief success by holding the four principle factors as follow :
correctness of the information , swftness, sufficiency and reliability. The aerial photos from the
aerial photography reconnaissance held that was the best response for all the above mentioned
missions.
The purpose of this research needs to study about the present aerial photography by
studying the related person’s opinions whom took part on the RTAF aerial photography field, and
also give the Guide line of RTAF Aerial Photography Development. To develop the RTAF aerial
photography according to the digital period.
The hypothesis of this research, the researcher sets up three factors as follow : Type
of the present aerial photography thought to be the suitableness and still having the essential to
the RTAF missions. For the developing of aerial photography model into the digital system
thought to be the best potential in better support all missions , since the digital aerial photography
cameras reduce the cost in aerial photos processing.This research is conducted in descriptive form by collecting information,concept,
theories, researche documents and text books for analysing the guide line of RTAF aerial
photography development in the future.
The outcome of the research show that right now do not have any perfect aerial
photography technology types, even in an optic system, thermographic and RADAR imagery
system. The reality of the perfect in supporting the aerial photography still needs of these three
systems together to obtain the most effectiveness. According to the analysis of the real need the
aerial photos, the difficulties or simplicities for te aerial photos, I found that the RTAF did not
need to acquire RADAR imagery system. It should develop the film camera optic system to the
digital optic system, and working together with the thermal systems that alreay have in the
present. In addition the aerial photography processor and the interpreting equipments should be
developed into digital as well. All these considered that were sufficiently to support the whole
RTAF’s missions.
The recommendation from this research is that the aerial photos within the country
and along the border which the depth not exeed 50 kilometers from the bordor line using the
RTAF conventional aerial cameras, only targets extreme outside the contry uses the suitable
resolution satellite photos, the present optic aerial camera have to replaced by digital camera, the
present platform for aerial reconnaissance mission have to replaced by the suitable plateform ,
also need to develop the aerial photograph processing equipments, interpreting equipments into
digital system, also to concern the above developed all personels whom take part on this field
have to be developed both the knowlege and the suitable quantities.
abstract:
ไม่มี