สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
023904
Today :
000199
Total :
047639
Download :
000060
เรื่อง:
แนวทางการส่งกำลังบำรุงร่วมกองทัพไทย
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. นันทภพ วรมิศร์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการจัดการฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย โดย : พันเอก นันทภพ วรมิศร์ สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (โสภณ ศิริงาม) มิถุนายน ๒๕๕๐ กองทัพไทยได้ห่างจากการรบในสงครามตามแบบขนาดใหญ่ มาเป็ นเวลานานกว่า กึ่งศตวรรษ เป็ นปัจจัยส าคัญที่ท าให้กองทัพไทยขาดทักษะและประสบการณ์การช่วยรบ การฝึ ก จึงเป็ นเครื่องมือส าคัญที่กองทัพไทยใช้ในการพัฒนากองทัพ โดยเรียนรู้จากกองทัพประเทศอื่น เพื่อพัฒนากองทัพไทยให้มีความพร้อมรบ ภายใต้สถานการณ์ปัจจุบันที่โลกก าลังเข้าสู่ยุค สารสนเทศ และยุคแห่งข้อมูลข่าวสาร ซึ่งยากต่อการก าหนดภัยคุกคามที่แน่นอนได้ ส่งผลให้ รูปแบบของการปฏิบัติการทางทหาร ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบไป เพื่อให้สามารถสอดรับกับ สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป บทบาทของทหารเพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติ ในลักษณะการเข้าร่วม ระดับนานาชาติและการปฏิบตัิการทางทหาร ที่มิใช่สงครามมีแนวโน้มสูงข้ึน ความส าคญั ของ การฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย จึงมิใช่แต่เพื่อการพัฒนาความพร้อมรบของกองทัพไทย ในการป้องกนั ประเทศเท่าน้ัน หากกองทพั ไทยมีความจา เป็นอย่างยิ่งที่ตอ้งพฒั นากองทพั ไทยให้มี ความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และภารกิจที่จะเกิดข้ึนในอนาคต เพื่อให้เกิดความพร้อมดังกล่าว จึงจ าเป็ นต้องมีการจัดการฝึ กส่งก าลังบ ารุ งร่ วมกองทัพไทย ที่เหมาะสม สามารถตอบสนองความต้องการทางด้านยุทธการได้อย่างสมบูรณ์ วตัถุประสงคข์องการวิจยัน้ีเพื่อศึกษาประวตัิความเป็นมาและวิวฒั นาการของการฝึก ส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย และเพื่อศึกษาหาแนวทางที่เหมาะสมในการจัดการฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วม ของกองทพัไทย โดยต้งัสมมติฐานว่า การจัดท าแนวทางในการจัดการฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วม จะท า ให้การจัดการฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วมเป็นไปอย่างมีระบบ ส่งผลให้การปฏิบัติการด้านส่งก าลังบ ารุงร่วม ในการสนบั สนุนการรบร่วมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้งักองทพั ไทยได้ประโยชน์จากการฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย ในด้านการพัฒนาความพร้อมรบและการพัฒนากองทัพให้มี ความทันสมัย การวิจยัเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ โดยใชข้อ้ มูลทุติยภูมิจากเอกสาร ระเบียบ คา สั่งและ รายงานสรุปผลการฝึกส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย รวมท้ังข้อมูลปฐมภูมิที่ผูว้ิจัยได้เข้าร่วม สัมมนาสรุปบทเรียนการฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย โดยประสบการณ์ของผู้วิจัยเอง ต้งัแต่ ปีพ.ศ.๒๕๔๗ จนถึงปัจจุบัน แล้วน ามาเรียบเรียงและสังเคราะห์ให้มีเน้ือหาสาระที่มีเหตุผล ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง แล้วน ามาเสนอกรอบแนวคิดแบบพรรณนา มีข้อสรุปและข้อเสนอแนะ ผลจากการวิจัยสรุ ปได้ว่า การฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย เป็ นการฝึ กที่มี ความส าคัญอย่างยิ่ง เนื่องด้วยเป็นการฝึกที่สนับสนุนการฝึกร่วมกองทัพไทย และเป็นการฝึก ที่ได้รับการพฒั นาอย่างต่อเนื่อง สอดคลอ้งกับสถานการณ์และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน ท้งัใน การพัฒนาวัตถุประสงค์การฝึ ก รูปแบบการฝึ ก เรื่องที่ท าการฝึ ก และการจัดหน่วยเข้ารับการฝึ ก ท าให้กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้รับความร่วมมืออย่างดีจากเหล่าทัพ ในการจัดก าลังพลและ ยุทโธปกรณ์เข้าร่วมการฝึ ก ผลการวิจัย ท าให้สามารถก าหนดต้นเหตุแห่งปัญหา ซึ่งสามารถก าหนดเป็นแนวทาง ในการแก้ปัญหา นั่นคือ กองทัพไทยควรก าหนดแนวทางการพัฒนาการฝึกส่งก าลังบ ารุงร่วม กองทัพไทย ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ และความต้องการทางทหาร เพื่อ ตอบสนองบทบาทและภารกิจของกองทัพไทยในอนาคต ให้กองทัพมีความพร้อมในการปฏิบัติ ภารกิจตามรัฐธรรมนูญได้อย่างเต็มก าลังความสามารถ มีความทันสมัย สามารถปรับตัวให้ สอดคล้องกับภัยคุกคาม และสถานการณ์ความมั่นคงที่เปลี่ยนแปลง ซ่ึงยากต่อการก าหนด ภยัคุกคามที่แน่นอนได้โดยน าบทเรียนจากการปฏิบตัิงานจริงและการฝึก ท้งัการฝึกร่วม การฝึกผสม และการฝึ กร่วมและผสม ทุกรหัสการฝึก ซึ่งกองทัพไทยได้ด าเนินการร่วมกัน รวมถึงการฝึ กและ การปฏิบัติงานจริงร่วมกับกองทัพมิตรประเทศ มาปรับปรุงแก้ไขหลักนิยมกองทัพไทยอย่างจริงจัง และต่อเนื่อง แลว้พฒั นากา ลงัพลในทุกระดบั ช้ัน ให้มีความรู้ความเขา้ใจในหลกันิยมกองทพั ไทย นอกจากน้ียงัทา ให้ทราบปัญหาขอขัดข้องของการจัดการฝึ กส่งก าลังบ ารุงร่วมกองทัพไทย เพื่อใช้ ้ เป็นข้อมูลให้หน่วยที่เกี่ยวข้อง น าไปแก้ไขเพื่อความเป็นการเตรียมความพร้อมรบของกองทัพไทย ส าหรับภารกิจท้งัภายในและภายนอกประเทศต่อไป
abstract:
ไม่มี