Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การประเมินผลการดำเนินกิจกรรมการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำโครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่าในพื้นที่ป่ารอยต่อ 5จังหวัด (ภาคตะวันออก) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ถาวร ทันใจ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การประเมินผลการด าเนินกิจกรรมพฒั นาการเพาะเล้ียงสัตว์น้า โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้และสัตวป์่า ในพ้ืนที่ป่ารอยต่อ ๕ จังหวัด (ภาคตะวันออก) อันเนื่องมาจากพระราชด าริ โดย : นายถาวร ทันใจ สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (นรชัย วงษ์ดนตรี) มิถุนายน ๒๕๕๐ การประเมินผลการดา เนินกิจกรรมพฒั นาการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้า ภายใตโ้ครงการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไมแ้ละสัตวป์่าในพ้ืนที่รอยต่อ ๕ จังหวัด (ภาคตะวันออก) อันเนื่องมาจากพระราชด าริ มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการคือ ๑) เพื่อประเมินผลการด าเนินงานของเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในระดับ พ้ืนที่ดา้นการส่งเสริมอาชีพประมงภายใตโ้ครงการอนุรักษท์ รัพยากรป่าไมแ้ละสัตวป์่าในพ้ืนทปี่ ่า รอยต่อ ๕ จังหวัด (ภาคตะวันออก) อันเนื่องมาจากพระราชด าริ๒) เพื่อประเมินผลการเล้ียงปลาของ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการด้านการส่งเสริมอาชีพประมงภายใต้โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่ าไม้ และสัตวป์่าในพ้ืนที่ป่ารอยต่อ ๕ จงัหวดั (ภาคตะวนัออก)อนั เนื่องมาจากพระราชดา ริและ ๓) เพื่อทราบ ปัญหาและอุปสรรคในการด าเนินงานด้านการส่งเสริมอาชีพประมงภายใต้โครงการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไมแ้ละสัตวป์่าในพ้ืนที่ป่ารอยต่อ ๕ จงัหวดั (ภาคตะวนัออก) อนั เนื่องมาจากพระราชดา ริใน การศึกษาคร้ังน้ีดา เนินการโดยใช้แนวคิดการประเมินของ D.L. Stufflebeam ตามแบบจ าลอง CIPP model ด้วยวิธีการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) โดยการรวบรวมข้อมูลการประยุกต์ แบบจ าลอง CIPP ประชากรที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย ๒ กลุ่ม ได้แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ โครงการจ านวน ๘ คนและเกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการจ านวน ๒๕๐ คน รวม ๒๕๘ คน โดยใช้ แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรมสถิติส าเร็จรูป เพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ SPSS /PC+ (Statistic Package for the Social Sciences / Personal Computer) สถิติที่น ามาใช้ในการวิเคราะห์คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานซึ่งผลการศึกษาพบว่าเจ้าหน้าที่ผู้ตอบแบบสอบถามจาก ๕ จงัหวดั มีจา นวนท้งัสิ้น ๘ คน ครึ่งหนึ่งมีต าแหน่งเป็นระดับหัวหน้าฝ่ าย จบการศึกษาในระดับต ่ากว่าปริญญาตรี ครึ่งหนึ่งรับ ราชการมา ๒๐ ปีข้ึนไป กว่าคร่ึงหน่ึงมีสถานภาพสมรส สมรส กว่าหน่ึงในสามมีประสบการณ์ใน การท างานอยู่ระหว่าง ๑ – ๑๐ ปี และ ๑๑ – ๒๐ ปี กว่าหนึ่งในสามปฏิบตัิราชการในพ้ืนที่ระหว่าง ๑ – ๕ ปี และ ๖ – ๑๐ ปี ท้งัหมดมีความรูด้า้นการเล้ียงปลาในบ่อดินระดบั มาก เกษตรกรผู้ตอบ แบบสอบถามมีจา นวนท้งัสิ้น ๒๕๐ คน กว่าสองในสามเป็นเพศชาย เกือบสองในสามจบการศึกษา ในระดับภาคบังคับ (ป.๔/ป.๖) กว่าสองในสามเป็นหัวหน้าครัวเรือน เกือบสองในสามมีจ านวน สมาชิกระหว่าง ๔-๖ คน มากกว่าสามในสี่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท มากกว่า สามในสี่มีรายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน ๑๐,๐๐๐ บาท กว่าสองในสามมีความรู้ดา้นการเล้ียงปลาใน บ่อดินระดับมาก ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาการเพาะเล้ียงสัตวน์ ้า ภายใต้โครงการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไมแ้ละสัตวป์่าในพ้ืนที่รอยต่อ ๕ จงัหวดั (ภาคตะวันออก) อันเนื่องมาจากพระราชด าริ พบว่า ด้านสภาพแวดล้อม (Context) ท้งัสภาพแวดล้อมภายนอก และสภาพแวดล้อมภายในอยู่ใน ระดับค่อนข้างมาก ด้านปัจจัยน าเข้า (Input) พบว่าความเหมาะสมของจ านวนผู้ปฏิบัติงาน ความ เหมาะสมของสถานที่ และความเหมาะสมของวัสดุอุปกรณ์อยู่ในระดับปานกลาง ในขณะที่ความ เหมาะสมของงบประมาณอยู่ในระดับค่อนข้างน้อย นอกน้นัอยู่ในระดบัค่อนขา้งมาก ด้านกระบวนการ ด าเนินการ (Process) พบว่าปัจจัยต่างๆ อยู่ในระดับค่อนข้างมาก ด้านผลผลิต (Product) พบว่า ปัจจัยด้านผลผลิตปลาที่ได้เฉลี่ยไม่เป็นไปตามที่ก าหนดโดยได้ผลผลิตเฉลี่ย ๕๑.๕๘ กิโลกรัม เกษตรกรผูเ้ขา้ร่วมโครงการมีอาชีพและความเป็นอยู่ดีข้ึน ด้านมีปลาบริโภคในครัวเรือนอยู่ใน ระดับ ค่อนข้างมาก ด้านมีปลาแจกจ่ายบุคคลอื่นอยู่ในระดับปานกลาง และด้านมีปลาเหลือจ าหน่าย อยู่ในระดับค่อนข้างน้อย ส าหรับความพึงพอใจต่อโครงการ ความรู้ดา้นการเพาะเล้ียงปลา และ ความมนั่ ใจในการประกอบอาชีพ เกษตรกรมีอยู่ในระดับค่อนข้างมาก ข้อเสนอแนะจากการวิจัย ประกอบด้วย ด้านนโยบาย คือ เห็นควรน าเสนอหน่วยงานที่รับผิดชอบพิจารณาในประเด็น งบประมาณเพิ่มเตมิ เห็นควรนา เสนอผูบ้ริหารระดบักรมพจิารณาในประเด็นเพิ่มจา นวนเจา้หนา้ที่ ผู้ปฏิบัติงาน และวัสดุอุปกรณ์ ควรมีการขยายผลการด าเนินงานไปยังเกษตรกรผู้ที่มีศักยภาพรายอื่น ที่มีความสนใจเล้ียงปลาในพ้ืนที่โครงการเพ่ิมมากข้ึน ส าหรับด้านวิชาการ ควรด าเนินการเก็บ ตวัอย่างจากผูเ้ขา้ร่วมโครงการท้งัโครงการเพื่อให้การวิเคราะห์มีความสมบูรณ์มากข้ึน ควร ทา การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการเล้ียงที่เกิดจากประเด็นอื่นๆ เช่น การยอมรับและการปฏิบัติ ตามความรู้ที่ได้รับจากการฝึ กอบรมของเกษตรกร ปัญหาจากสภาพแวดล้อมทางกายภาพต่างๆ อาทิ สภาวะภยัแลง้ ภยัน้า ท่วม ควรจัดฝึกอบรมให้แก่เกษตรกรเป็นระยะเพื่อทบทวนความรู้ และ สอบถามถึงปัญหาและอุปสรรคที่เกษตรกรประสพ และควรด าเนินการติดตามและประเมินผลเป็น ระยะเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงการด าเนินโครงการให้ส าเร็จตามเป้าประสงค์ที่ก าหนดAbstract Title : Evaluation onFish Culture underForest Resources and Wild Animal Conservation in Five Provinces Forest Conjunction Area, Eastern Part of Thailand, Royal Project By : Mr. Taworn Thunjai Major Field : Socio-psychology Research Advisor : Colonel (Norachai Wongdontri) June 2007 Objectives for the study were; 1) to evaluate output of the project implementation; 2) to evaluate fish culture of the project; and 3) to know problems and obstacles of project. CIPP model was used and applied as a conceptual framework. Questionnaire was used for data collection. Two hundred and fifty-eight, 8-staffs and 250-farmers, were used for the study. Percentage, mean, and standard deviation were used for data analyzed by using SPSS/ PC+ program. Results found that the majority of staff were head position, graduated high school, half of staff served as government service for 20 years or more, more than half married, more than one-third have working experiences between 1-10 years and 11-20 years, more than one-third work in area between 1-5 years and 6-10 years, all staff has high fish culture knowledge. The majority of farmer were more than two-third were male, about two-third graduated primary school (level 4/ level 6), more than two-third were head of family, about two-third have 4-6 family members, more than three-fourth have income not exceed 10,000 baht/month, more than two-third have high fish culture knowledge. The evaluation result found that the context factors, inner and outer environment, were in quite high level. Input factors, suitable of number of staff, place, and materials, were in moderate, while budget was in quite low and the less were in quitehigh. All process factors were in quite high. Product factor, fish production, was not meet goal, 100 kg/rai. Farmer, however, has a better occupation and better life, fish production for family consumption was quite high, fish meat for neighborhood was in moderate. Farmer satisfaction, fish culture knowledge, and fish culture confident, were in quite high. The suggestion for the study were; 1) Policy: Department of Fisheries should consider to increase budget, number of staffs, material, conducted fish culture manual, offices should participate in farmer selecting process, and should be expand the activity to farmers in the project area; 2) Technical: All farmer data from project should be collect, all impact factors data such as flooding and drought should be collected, training program should be conducted, farmer should be frequently trained, monitoring and evaluating should be implemented.

abstract:

ไม่มี