Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความพึงพอใจของนักศึกษาวิชาทหารชั้นปีที่ 3 (ชาย) ต่อการฝึกภาคสนาม ศึกษาเฉพาะกรณี : ศูนย์การฝึกนักศึกษาวิชาทหารมณฑลทหารบกที่ 31 บทบาทของสื่อมวลชนต่อการสร้างความสมานฉันท์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ดุษฎี เพชรเจริญ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2548
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : บทบาทของสื่อมวลชนต่อการสร้างความสมานฉันทใ์นพ้ืนที่จงัหวดั ชายแดน ภาคใต้ โดย : นายดุษฎี เพชรเจริญ สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (เกรียงศักดิ์ หนองปิ งค า) มิถุนายน ๒๕๕๐ ปัญหาการก่อความไม่สงบในพ้ืนที่จังหวดั ชายแดนภาคใต้ของไทยมีมาเป็ นเวลายาวนาน ต้งัแต่อดีต และได้เพิ่มความรุนแรงมากที่สุดเมื่อปี๒๕๔๗ ในรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร โดย ขบวนการแบ่งแยกดินแดนได้ใช้ช่วงจังหวะเวลาที่ประเทศชาติเกิดความวุ่นวายแตกแยก สั่งสม/ผึกฝน กองก าลังก่อการร้ายและจดั ต้งัมวลชนอย่างต่อเนื่อง เมื่อสบโอกาสจึงก่อความรุนแรงข้ึน ท้งัน้ีปัญหา การก่อความไม่สงบดังกล่าวได้สร้างผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศชาติโดยรวม ท้ังด้าน การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการทหาร ซึ่ งรัฐบาล พล.อ.สุรยุทธ์ จุลานนท์ ได้แก้ปัญหาโดยใช้ นโยบายสร้างความสมานฉันท์ หรือการแก้ปัญหาตามแนวทางสันติวิธี แต่นโยบายดังกล่าวก็ยังไม่ สามารถปฏิบัติได้อย่างเป็ นรูปธรรม เพราะไม่ได้รับความร่วมมือจากประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ และ สื่อมวลชน ผูว้ิจยัเลือกทา วิจยัในเรื่องน้ีโดยมีวตัถุประสงค์ที่จะหาสาเหตุที่รัฐบาลไม่ประสบความส าเร็จ ต่อการสร้างความสมานฉันท์ในพ้ืนที่จงัหวดั ชายแดนภาคใต้รวมถึงวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคใน การน าสเนอข่าวสารของสื่อมวลชนที่เป็ นจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องต่อการสร้างความสมานฉันท์ใน พ้ืนที่จังหวดั ชายแดนภาคใต้พร้อมท้งันา เสนอขอ้แนะน าที่พิจารณาจากข้อมูลรายละเอียดที่แสวงหา จากแหล่งขอ้มูลที่หลากหลาย ท้งัจากการสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวขอ้งศึกษาจากเอกสารวิจัยส่วนบุคคล เอกสารของหน่วยราชการ บทความ บทวิจารณ์ของสื่อสิ่งพิมพต์ ่าง ๆผลการวิจัยพบว่า เหตุที่รัฐบาลไม่ประสบความส าเร็จต่อการสร้างความสมานฉันท์ในพ้ืนที่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็ นเพราะประชาชน และเจ้าหน้าที่รัฐยังไม่เข้าใจความหมายและวิธีการสร้าง ความสมานฉันท์ ไม่รู้วัตถุประสงค์ของการสมานฉันท์ และไม่รู้ว่าจะสมานฉันท์กับใคร รวมท้งัการ บริหารจัดการปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของเจ้าหน้าที่รัฐทุกฝ่ ายยังไม่เป็นเอกภาพ และไม่สอด ประสานกัน ในขณะที่หลายฝ่ ายมีความหวังว่าสื่อมวลชนน่าจะเป็ นองค์กรที่มีส่วนส าคัญในการช่วย รัฐสร้างความสมานฉันท์ แต่ที่ผ่านมาสื่อมวลชนยังมีบทบาทน้อยมาก อาจเป็ นเพราะรัฐไม่ได้ให้ ความส าคญั กับสื่อมวลชน รวมท้งัสื่อมวลชนมีการแข่งขนักนั รุนแรงและมุ่งหาประโยชน์ทางธุรกิจ มากเกินไป อีกท้งัยงัมีความไม่เขา้ใจกนั ระหว่างหน่วยงานปฏิบตัิกับสื่อมวลชน นอกจากน้ียังเป็ นไป ตามแผนการของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ ที่ต้องการให้สื่อมวลชนเสนอข่าวความผิดพลาดของรัฐ ภาพ เหตุการณ์/ข่าวความรุนแรงและความสูญเสียอย่างต่อเนื่อง ซึ่ งจะท าให้ประชาชนส่วนใหญ่ของ ประเทศเกิดความเกลียดชงัชาวไทยมุสลิมมากข้ึน จนท าให้องค์การสหประชาชาติ และประเทศมุสลิม เห็นว่าปัญหาดังกล่าวเป็นเรื่องความแตกแยกทางศาสนา เช้ือชาติและการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งใน ที่สุดองค์กรเหล่าน้ีอาจเข้ามาแทรกแซงการแก้ปัญหาในประเทศเช่นเดียวกับการแก้ปัญหาการก่อ ความไม่สงบในเกาะมินดาเนาของประเทศฟิ ลิปปิ นส์หรือติมอร์ตะวันออกของประเทศอินโดนีเซีย เมื่อรัฐบาลประกาศให้การแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ตามแนวทางสมานฉันท์ เป็ นวาระแห่งชาติหน่วยงานราชการ สื่อมวลชน และประชาชนทุกภาคส่วนควรให้ความร่วมมือใน การแก้ปัญหา รวมท้ังต้องมีความสามัคคีและเชื่อมั่นในรัฐบาล ไม่ต าหนิหรือปล่อยให้รัฐบาล รับผิดชอบเพียงฝ่ ายเดียว ในขณะเดียวกันสื่อมวลชนต้องใช้วิจารณญาณในการน าเสนอข่าวด้วยความ รับผิดชอบ เที่ยงตรงให้สังคมตระหนักถึงภัยร่วมกัน ถ้าสื่อมวลชนไม่ปฏิบัติตาม รัฐบาลอาจพิจารณา ออกกฎหมายจ ากัดการเสนอข่าวเกี่ยวกับการก่อการร้ายของสื่อมวลชนให้เหลือน้อยลงเพื่อไม่ให้ กระทบต่อความมั่นคงและผลประโยชน์ของประเทศชาติในขณะเดียวกันรัฐบาลต้องน้อมน า ยุทธศาสตร์พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาปฏิบัติควบคู่ ไปกับการสร้างสภาพแวดล้อมด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และศาสนา ให้สอดคล้องกับ ความต้องการของประชาชนในพ้ืนที่ เพื่อดึงมวลชนกลับมาอยู่กับฝ่ายรัฐ ที่ส าคัญต้องเร่ ง ประชาสัมพันธ์วัตถุประสงค์ของการสมานฉันท์ วิธีการและบุคคลที่จะสร้างความสมานฉันท์ด้วย เพื่อให้ข้าราชการ และประชาชนได้รับทราบและให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title : Role of Mass Media to Create Harmonization in Area of Southern Border Provinces By : Dudsadee Phetcharoen Major Field: Social Psychology Research Advisor : Group Captain (Kriangsak Nongpingkham) june 2007 The insurgency in the southern border provinces of Thailand (Pattani, Yala, Narathiwat and some part of Songkhla) has been occurred for a long time. Moreover, after preparing for civil war by arousing local masses and training guerillas for 10-12 years, the insurgents began charging against the government of former Prime minister Thaksin Shinawatra on January 4, 2004, in order to separate the Pattani region and three southern provinces of Thailand. This incident quickly escalated into large scale violence and leading to an exodus which has been effect to the national security and national gain. It damaged economy, politics, social and military too. However, the government of Premier General Surayud Chulanont tried to solve problem by declaring harmonization policy in the way of peace. In fact, this policy could managed difficulty, because local people, official and mass media have not been complied with government. The objectives of the research on this issue are to find the causes of unsuccessfulness of harmonization in the southern border provinces of Thailand and to analyze the weakness of mass media for presenting news which became the obstacle of harmonization in the South. The researcher collected information from various documents relating to the situation, such as the research papers, the documents of the authorities concerned, the magazines and newspaper, including the interviewing of people concerned from government and mass media.The result of the research is that the local people and the official unknown meaning, method, objective of harmonization and the person to harmonize. Furthermore, it is lacked unity and connection in the administration of the officials that concern with situation in the South. While, everyone expect that the mass media would be the best organization to help government harmonizing in the South. But in the past 3 years mass media hardly played a role of peace maker. It is probably because government did not consider the mass media’s important and mass media competed for benefit and business more than recognized of the national security. And also, because there was misunderstood between local official and reporter. Moreover, the news that mass media reported about the pictures of daily violence such as, slaughter, arson and government’s mistake, would be increasing conflict to people in the public and the local area. That was the plan of insurgents to call out United Nations and Organization of Islamic Conference, for interfering Thailand’s situation by the reasons of confliction in nationalist, religious and human rights, like the interference in Mindanao of Philippines and East Timor of Indonesia. Therefore, after government installed harmonization as the national agenda, everyone whether official, mass media, local people or the other provincial people would cooperate with government. To solve the southern insurgency, everyone must be unity and believe in efficiency of government. Meanwhile mass media has to present news with discretion, responsibility and guidance social about insurgency. If mass media does not follow government’s policy, the government may regulate law to control news that concern with national security and insurgency or terrorism. Moreover government has to use strategy of His Majesty The King “ understanding, accession, development” for operating together with the requirement of local people about the readiness of local economy, politics, social, education and religious. If the government can do, it will pull the mass back to be a member of the peaceable social again. However, the government has to speedily explain everything about harmonization for understanding and cooperation of everyone.