เรื่อง: การจัดศูนย์ประสานงานประจำพื้นที่ ตามแนวความคิดการจัดหน่วยบัญชาการรวม
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ชัยณรงค์ กิจรุ่งโรจน์เจริญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2548
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การจดัศูนยป์ ระสานงานประจา พ้ืนที่ในการป้องกนัและปราบปราม
การก่อความไม่สงบ ตามแนวความคิดการจัดหน่วยบัญชาการรวม
โดย : พันเอก ชัยณรงค์ กิจรุ่งโรจน์เจริญ
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก
(คชวัทน์ ประสานนิล)
มิถุนายน ๒๕๕๐
การวิจยัคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการก าหนดโครงสร้างที่เหมาะสมในการป้องกัน
และปราบปรามการก่อความไม่สงบ ภายใต้กรอบแนวคิดของหน่วยบัญชาการรวม,ศึกษากาก าหนด
แผนงานในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ และ ศึกษาระบบการบริหารจัดการที่
เหมาะสมกับภารกิจในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ ที่ท าให้สามารถจัด
หน่วยงานที่มีการบริหารจัดการให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถแก้ไขปัญาความไม่
สงบที่เกิดข้ึนในแต่ละพ้ืนที่ไดอ้ย่างเหมาะสม โดยมีสมมติฐานของการวิจัยว่า หลักการจัดหน่วย
บัญชาการรวม ของกองบัญชาการทหารสูงสุดที่มีอยู่ มี่ความเหมาะสมในการน ามาเป็นต้นแบบในการ
จดัศูนยป์ ระสานงานประจา พ้ืนที่ในการป้องกนัและปราบปรามการก่อความไม่สงบในระดบั พ้ืนที่
วิธีด าเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยค้นหาข้อเท็จจริง
ตามสภาพการณ์ปัจจุบัน ประกอบข้อเท็จจริงในอดีตที่ผ่านมา โดยการรวมรวมข้อมูลจาก
ประสบการณ์ของผู้วิจัย ซึ่งเคยปฏิบัติหน้าที่ในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ,
ข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ที่มีประสบการณ์ เพื่อ
น าผลการศึกษามาใช้ในการวิเคราะห์เพื่อหารูปแบบการจัดองค์กรในการป้องกันและปราบปราม
การก่อความไม่สงบในระดบั พ้ืนที่ที่เหมาะสม และสามารถดา เนินการแกไ้ขปัญหาไดอ้ย่างถูกต้อง
และเป็นรูปธรรม ผลการวิจัยสรุปได้ว่า หลักการจัดหน่วยบัญชาการรวม ของกองบัญชาการทหาร
สูงสุดที่มีอยู่ มีความเหมาะสมในการนา มาเป็นต้นแบบในการจดัศูนยป์ ระสานงานประจา พ้ืนที่ ในการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบในระดบั พ้ืนที่ โดยมีขอ้ควรคา นึงเพิ่มเติมเช่น วฒนธรรม ั
องค์กร การเชื่อมต่อแผนงานระดับยุทธศาสตร์, ยุทธการและยุทธวิธี อย่างเป็นระบบ
ข้อเสนอแนะ ในการวิจยัคร้ังน้ีพบว่า ยงัมีปัจจยัอื่นๆ ที่ควรน ามาเป็นปัจจยัในการพิจารณา
จดั ต้งัศูนยป์ ระสานงานประจา พ้ืนที่ตามหลกัการจดัหน่วยบญั ชาการรวมเพิ่มเติมจากการวิจยัคร้ังน้ีคือ
ข้นั ตอน/วิธีการส่งมอบความรับผิดชอบจากแผนงานการป้องกันและปราบปรามการก่อความไม่สงบ
ในระดบั พ้ืนที่ไปสู่หน่วยงานตามสายงานปกติท้งัในเรื่องแผนงานและงบประมาณ, ความสัมพันธ์
ทางการบังคับบัญชาระหว่างที่ปรึกษาทางทหาร และหน่วยทหารที่เข้าร่วมปฏิบัติตามแผนงานใน
การป้องกนัและปราบปรามการก่อความไม่สงบในระดบั พ้ืนที่ และ การสร้างวัฒนธรรมองค์กรร่วม
ระหว่างหน่วยทหารและส่วนราชการอื่นๆ เพื่อสร้างความเป็นเอกภาพในการปฏิบัติงาน ซึ่งหาก
สามารถด าเนินการวิจัยต่อไปตามแนวทางน้ี จะทา ให้ผลการวิจยัมีความเหมาะสมที่จะน าไปสู่การ
ปฏิบตัิมากยิ่งข้ึนABSTRACT
Title : The Organized of Area Coordination Center in Counter
Insurgency by concept of Unified Command Unit
By : Colonel Chainaronk Kijrungrojjarean
Major Field : MilitaryScience
Research Advisor : Captain RTA.
(Kachawatt Prasarnnin)
June 2007
The objectives of this research are to study structure specification that is
appropriate in counter insurgency by concept of unified command, to study the plan of
counter insurgency and to study administration system manage that is appropriate to
mission in counter insurgency. The hypothesis of this research is that the principle of
organization of unified command is sutiable to be medel for organization of area
coordination center in counter insurgency.
Qualitative research is the method of this research. The researcher has used :
seeking matters of fact follows the present situation, assembling matters of fact in the
past, correcting data from the experience of the researcher, and interviewing from
whom have experience. The result of this study would be used to find out the
arrangement organization format in counter insurgency. The research result is summed
up that the principle of organization of unified command is sutible to be a model for
organization of coordination center in counter insurgency. However, it should be
concerned on organization culture, linking up of stratezy, operation and tactics levels.Recommendations of this research are found out that there are others factors
to be considered. These factors are the step/ the way delivers the responsibility of
counter insurgency in area level to normal unit, the command relation between consult
military and other military units, and the building culture between military units and
government units to bulid the unity of works. If it can manage as follows, the next
research will be sutible to bring to the appropriated operations.
abstract:
ไม่มี