เรื่อง: การศึกษาปัญหาในพื้นที่รับผิดชอบของกองกำลังบูรพาและจังหวัดสระแก้ว ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. กู้เกียรติ ศรีนาคา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2548
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาปัญหา ในพ้ืนที่รับผิดชอบของกองก าลังบูรพาและจังหวัดสระแก้ว
ตามแนวชายแดนไทย –กัมพูชา ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย
โดย : พันเอก กู้เกียรติ ศรีนาคา
สาขาวิชา : การเมือง
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
( อภิชาติ แก้วประสพ )
มิถุนายน ๒๕๕๐
ประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา มีความสัมพันธ์ต่อกันมาเป็ นเวลานาน กัมพูชามีอาณา
เขตติดต่อกับไทยท้งัทางบกและทางน้ า ยาวประมาณ ๑,๒๔๑ กิโลเมตร ประชาชนส่วนใหญ่ของ
ท้ังสองประเทศนับถือศาสนาพุทธ และมีขนบธรรมเนียมประเพณีที่คล้ายกัน ศิลปะการแสดง
รวมถึงศิลปกรรมของไทยส่วนหนึ่งได้รับอิทธิพลจากเขมรเป็ นอันมาก ปัจจัยดังกล่าวเปรียบเสมือน
สื่อส าคัญ ในการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างไทย –กัมพูชาแต่จากการที่ไทยและกัมพูชา ต่างก็
มีแนวพรมแดนที่ติดต่อกันในลักษณะที่มีผืนดินเชื่อมต่อกันเป็ นแผ่นเดียวกัน รวมท้ังผืนน้ าที่มี
ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ มากมาย อีกท้งัปัญหาภายในประเทศของกัมพูชาเองที่ผ่านมา ทา ให้ท้งั
กัมพูชาและไทยต่างด าเนินนโยบายทางด้านการต่างประเทศ ที่มีความระมัดระวังมากเป็นพิเศษ เพื่อ
มิให้มีการกระทบกระทงั่ กนั ภายหลงัจากที่กัมพูชาจัดการปัญหาภายในประเทศของตนเองได้ โดย
ความช่วยเหลือขององค์การสหประชาชาติ รวมถึงไทยด้วยแล้ว แต่ในระยะหลังมักเกิดปัญหา
ระหว่างไทยกับกัมพูชา ซ่ึงในหลาย ๆ ปัญหาน้นั บางปัญหาเป็ นเรื่องที่ไม่ส่งผลต่อความมนั่ คงและ
สามารถที่จะดา เนินการแก้ไข ด้วยการเจรจาท้งัในระดับส่วนภูมิภาคได้แต่ในบางปัญหาไดส้ ่งผล
กระทบต่อความมนั่ คงตามแนวชายแดน ท้งัในส่วนของไทยและของทางกัมพูชาเอง
งานวิจัยน้ีได้กล่าวถึง ปัญหาตามแนวชายแดนไทย–กัมพูชาที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย
โดยเฉพาะปัญหาที่เกิดในพ้ืนที่รับผิดชอบของกองก าลังบูรพาและจังหวดั สระแกว้ ซ่ึงมีพ้ืนที่ติดต่อกับกัมพูชาเป็ นระยะทางยาวถึง ๑๖๕ กิโลเมตร โดยสภาพพ้ืนที่ที่มีแนวพรมแดนทางธรรมชาติที่
เป็นเส้นแบ่งเขตแดน ซ่ึงมีท้งัแนวลา คลองแนวสันเขาและที่เป็นปัญหามากที่สุด คือ แนวผืนดิน
ที่เชื่อมต่อกันเป็ นผืนเดียว อันเป็ นสาเหตุหลักของปัญหาตามแนวชายแดนที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน
โดยการน าเสนอปัญหาในรูปแบบต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อความมนั่ คง รวมท้งัมาตรการที่แก้ไข
รวมท้ังท าการวิเคราะห์แนวโน้มของปัญหาในอนาคต เพื่อเป็ นแนวทางให้กับผู้ที่สนใจได้
ทา การศึกษาเพิ่มเติม ในอันที่จะสร้างความเข้าใจต่อความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับกัมพูชาต่อไป
โดยได้ก าหนดวัตถุประสงค์ในการวิจัย เพื่อศึกษาปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนตามแนวชายแดนไทย –
กมั พูชาในพ้ืนที่ของกองกา ลงับูรพาและจังหวดั สระแก้ว ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทย และเพื่อ
น าเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึนท้ังในระดับท้องถิ่น และในระดับประเทศ ในการสร้าง
ความร่วมมือต่อไปในอนาคต โดยท าการศึกษาในเชิงคุณภาพด้วยการส ารวจเอกสาร (Documentary
Research) การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับกัมพูชา ท้งัในดา้นที่เกี่ยวกบั สภาพพ้ืนฐานของประเทศ
สภาพของปัญหาที่เกิดข้ึน โดยศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎีเอกสาร ตา ราและบทความทางวิชาการต่าง
ๆ รวมท้ังเอกสารจากทางราชการ หน่วยงานที่ปฏิบัติราชการสนามตามแผนป้องกันประเทศ
ทางด้านชายแดนไทย –กัมพูชา ทางด้านจังหวัดสระแก้วเป็นหลัก โดยใช้การประมวลผลวิเคราะห์
ตลอดจนการตีความ เพื่อหาข้อสรุปที่เป็ นประโยชน์ และน ามาใช้ประกอบการวิจัย เพื่อให้ได้
รายละเอียดที่สมบูรณ์ครบถว้นมากยิ่งข้ึน
ผลการศึกษาพบว่า ปัญหาจากการปฏิบัติงานตามภารกิจและพันธกิจของกองก าลังบูรพา
ที่ส่งผลกระทบต่อความสัมพนัธ์ของท้งัสองประเทศมีอยู่ ๖ ปัญหาหลัก คือ ๑. ปัญหาหลักเขตแดน
๒. ปัญหายาเสพติด ๓. ปัญหาบ่อนการพนันตามแนวชายแดน ๔. ปัญหาการลักลอบโจรกรรม
รถยนต์ และรถจักรยานยนต์๕. ปัญหาผู้หลบหนีเข้าเมือง ๖. ปัญหาทุ่นระเบิด กับระเบิดตาม
แนวชายแดน สภาพของปัญหาดังกล่าวมีความซับซ้อนเกี่ยวข้องสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และส่งผลกระทบต่อความสัมพันธ์ท้ังสองประเทศ ดังน้ันตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเกือบ ๕๐ ปี
ปัญหาภายในประเทศของกัมพูชาจึงได้ส่งผลกระทบต่อความมนั่ คงของไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
สาเหตุส าคัญอีกประการหนึ่งมาจากปัญหาการสู้รบภายในกัมพูชาเอง ท าให้การพัฒนาประเทศท้ัง
ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมจิตวิทยา มีความแตกต่างจากไทยเป็ นอย่างมาก สิ่งเหล่าน้ี
ก่อให้เกิดปัญหาตามแนวชายแดนไทย–กัมพูชา เนื่องจากการปะทะกันของความเจริญที่แตกต่างกัน
(The Crash of Civilization) ของท้งัสองประเทศ
ต่อมาความสัมพันธ์ไทย –กัมพูชาในทางการเมืองมีแนวโน้มดีข้ึน รัฐบาลของท้งัสองฝ่ าย
ได้ร่วมกันสร้างกลไกในการฟ้ืนฟูสัมพนัธไมตรีให้ดีข้ึน นอกจากจะหาลู่ทางตกลงกันแก้ไขปัญหา
ชายแดนแล้ว ยังได้ตกลงที่จะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ การสาธารณสุข สังคม การศึกษา วัฒนธรรมและอื่น ๆ มากกว่า ๒๐ รายการ โดยการประชุมคณะกรรมาธิการร่วมว่าด้วยความ
ร่วมมือระหว่างไทย-กัมพูชา ได้มีการหารือเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทวิภาคีระหว่างกันอย่างกว้างขวาง
ในประเด็นที่ครอบคลุมท้งัทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม การเมืองและความมนั่ คงเช่น ได้มีการ
ลงนามความตกลงว่าด้วยบริการเดินอากาศระหว่างรัฐบาลของท้งัสองประเทศ ซ่ึงกา หนดให้ท้งัสอง
ฝ่ ายสามารถท าการบินในเส้นทางที่ก าหนดได้ฝ่ ายละ ๒,๐๐๐ ที่นั่งต่อสัปดาห์เป็ นประโยชน์ต่อการ
พัฒนาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การคมนาคม และการขนส่งทางอากาศรวมท้งัการท่องเที่ยวของ
ท้งัสองประเทศ การแบ่งเขตทางทะเล การตกลงด าเนินการพ้ืนที่พัฒนาร่วมไทย -กัมพูชา และ
สามเหลี่ยมเศรษฐกิจกัมพูชา –ลาว - ไทย นอกจากน้ียงัไดม้ีการลงนามความตกลงร่วมกนั ระหว่าง
ไทยกับกัมพูชาอีกหลายฉบับ ตัวอย่างเช่น
๑. ความตกลงในการต่อต้านการเคลื่อนย้ายโดยผิดกฎหมาย และการลักลอบขนข้าม
แดนซึ่งสังหาริมทรัพย์และส่งคืนให้แก่ประเทศที่เป็นแหล่งก าเนิด
๒. บันทึกความเข้าใจว่าด้วยการส ารวจและจัดท าหลักเขตแดนทางบก
๓. การร่วมลงนามในปฏิญญาพุกาม เมื่อ ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๖ ของผู้น าแห่ง
รัฐบาลกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สหภาพพม่า และราชอาณาจักรไทย ในอัน
มุ่งปรารถนาที่จะสร้างความมงั่คงในภูมิภาค ด้วยความเป็นปึ กแผ่น ั่ และความร่วมมืออย่างแข็งขัน เพื่อใช้
ประโยชน์อย่างเต็มที่จากศักยภาพทางเศรษฐกิจ ในการที่จะยกระดับสวัสดิภาพและคุณภาพชีวิต
ของประชาชน ด้วยการจัดต้งัยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี – เจ้าพระยา –แม่โขง
โดยเรียกย่อว่า ACMECS ซึ่งจะช่วยส่งผลท าให้เกิดความร่วมมือด้านอื่น ๆ ตามมาอีก ไม่ว่าจะเป็ น
ความร่วมมือทางด้านความมนคง ทางด้านสังคม ทางด้านการทหาร ั่ เป็ นการลดปัญหาชายแดนที่
เกิดข้ึนในปัจจุบนัลงไปในอนาคต
ในการด าเนินการต่อปัญหาดังกล่าวน้ัน ประการส าคญั ที่สุดในการดา เนินการคือควรที่
ท้งัสองฝ่ายจะไดร้่วมมือในการแกไ้ขปัญหา ให้เกิดความเหมาะสมและสอดคล้องไปกับบริบทที่เป็นอยู่
อนัจะส่งผลทา ให้ความสัมพนัธ์ของท้งัสองประเทศเป็นไปในทางที่ดีข้ึนต่อไป โดยมีข้อเสนอแนะ คือ
๑. การสร้างผลประโยชน์ร่วมกันระหว่างไทยและกัมพูชา ควรที่จะต้องมีการร่วมมือกัน
ทางดา้นเศรษฐกิจให้มากยิ่งข้ึนท้งัในภาครัฐและเอกชน ด้วยการลงทุนของไทยในกัมพูชา เพื่อให้
เกิดผลทางด้านความสัมพันธ์ด้านธุรกิจ อันจะน ามาซึ่งความสัมพันธ์ด้านอื่น ๆ ตามมา จากปัจจุบัน
การลงนามความร่วมมือของไทยกับกัมพูชาในปฏิญญาพุกาม ในอันที่จะสร้างความร่วมมือทางด้าน
เศรษฐกิจร่วมกัน ถือว่าเป็นการดา เนินนโยบายที่สร้างสรรค์ประการหน่ึง นอกจากน้ีการร่วมสร้าง
ผลประโยชน์ของชาติร่วมกัน ถือว่าเป็นแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภูมิภาคที่ดีที่สุดที่
ไทยควรเร่งด าเนินการโดยเร็วที่สุด๒. ความอดทน ในการด าเนินการของไทย จะต้องหลีกเลี่ยงการปฏิบัติใด ๆ ที่จะส่งผล
ในทางลบต่อความรู้สึกของกัมพูชา นอกจากน้ันการด าเนินการต่อความขดัแยง้ระหว่างไทยกับ
กัมพูชาจะตอ้งใช้ความอดทนให้มากที่สุด ซ่ึงในที่น้ีหมายถึงการอดทนในทุกระดบของการท างาน ั
ประสานงาน
๓. การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ผู้น าระดับสูงรวมถึงเจ้าหน้าที่รัฐในระดับผู้บริหาร
และนักธุรกิจ จะต้องสร้างความสัมพันธ์กับกัมพูชาให้มีความเชื่อมโยงกันให้ได้ปัจจุบันเราจะเห็นว่า
ในระบบของโลกทุนนิยม กา แพงต่าง ๆ ที่เคยขวางก้ันได้ถูกท าลายลงด้วยการน าเอาเศรษฐกิจและ
ธุรกิจมาเป็นตวัน า หลงัจากน้ันก็สร้างความสัมพันธ์ในระดับการเมือง การทหารต่อไป ซ่ึงการมี
ความสัมพันธ์ระดับต่าง ๆ ที่ได้เสนอไปแลว้น้ัน จะทา ให้มิตรภาพระหว่างประเทศมีอย่างยงั่ ยืน
ยาวนาน และปัญหาที่จะส่งผลกระทบต่อกันก็จะลดลงไป
๔. การให้ความช่วยเหลือแก่กัมพูชา เพื่อให้ระดับความสามารถทางด้านสังคมจิตวิทยา
เศรษฐกิจ มีความทัดเทียมกันกับกลุ่มประเทศในอาเซียน โดยการให้ความช่วยเหลือควรจะเป็ นการ
ให้ความช่วยเหลือในระดับรากหญ้า (Grassroots) ที่เป็นพ้ืนฐานในการดา รงชีวิตของประชาชน ใน
ที่น้ีผู้วิจัยมีความเห็นว่าควรเน้นที่ระบบสาธารณูปโภค การศึกษา การแพทย์ การถ่ายทอด
เทคโนโลยี ความร่วมมือทางด้านวิชาการต่าง ๆ เพื่อสร้างความสามารถในการพัฒนาประเทศให้มี
ศกัยภาพใกลเ้คียงในระดบั เดียวกนั สิ่งเหล่าน้ีจะเป็นการแสดงถึงความจริงใจและต้งัใจจริงของไทย
ในอันที่จะช่วยเหลือแก่กัมพูชา ซึ่งจะส่งผลให้ลดความหวาดระแวง ลดทัศนคติที่ไม่ดีต่อคนไทย
และไทยอันจะน ามาซึ่งความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันตลอดไป
การแก้ไขปัญหาดังกล่าว ต้องอาศัยการด าเนินการในรูปของคณะกรรมการด้านต่าง ๆ
เพื่อสร้างความสัมพนัธ์ในทางที่ดีรวมท้งัความเข้าใจในบริบทของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศการ
เป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกัน และความผูกพันที่ก้าวไปด้วยกันอย่างก้าวหน้า (Forward Engagement) อัน
จะเป็นกรอบของความร่วมมือของท้งัสองประเทศในลกั ษณะทวิภาคีต่อไป และจะช่วยส่งผลให้
ปัญหาต่างๆ ที่มีอยู่ลดลงอีกท้งัจะเป็นการสร้างความเขม้แข็งให้กับกลุ่มประเทศอาเซียนในบทบาท
ของการเป็นกลุ่มประเทศที่มีศักยภาพกลุ่มหนึ่งในสังคมชุมชนระหว่างประเทศต่อไปในอนาคต
abstract:
ABSTRACT
Title : The study of problems affecting Thailand, in an area of responsibility of the
Burapa field command and Sa Kaeo provincial along Thai – Cambodia border.
By : Colonel Kukiat Srinaka
Major Field : Politics
Research Advisor : Gp.capt.
( Apichat Kaewprasop )
June 2007
Thailand and Cambodia have a long history of relations as close neighboring countries,
sharing a border of approximately 1,241 kilometers. A majority of population in both countries
are Buddhists and have similar culture and traditions, while some Cambodian influence was
introduced and passed onto the Thai traditional social values. However, the past Cambodian
internal conflicts and instability called for Thailand’s more cautious international policies towards
Cambodia, while providing possible assistance, together with international organizations, such as
the United Nations, in solving such problems. Nevertheless, many problems remain, especially
those existing along the border. Some of these problems are of considerable significance and
cannot be underestimated because they may dramatically affect the relation between the two
nations.
This research addressed such border problems that may affect worthy relation between
Thailand and Cambodia, focusing on those within an area of responsibility of the Burapa Field
Command and Sa Kaeo province, along the 165-km natural border, such as canals and mountain
ridges. Problems arise along the border that does not have distinct natural division, in some
locations a continuous piece of flat plain. A conflict of unbounded sovereignty has originated many difficulties. The research focused on such border problems in the stated location.
Significant problems are identified, along with the recommendation in terms of solutions to them.
The expected trend of problems is also suggested. The ultimate goal is to attain the pleasant and
everlasting friendship between Thailand and Cambodia. Objectives of Research to identify
current and previously existing border problems affecting Thailand and to suggest the solutions to
such problems as a guideline for local and national policy decision making. Methodology This
qualitative study consists of documentary research for information and knowledge about
Cambodia. Sources of literature include those derived from ideas, concepts, theories from
academic papers, textbooks, as well as publications by governmental organizations, especially the
field operations units in Sa Kaeo province, which serve the purpose of the National Protection
Plan. The document is thoroughly investigated, analyzed, evaluated, and the conclusions
provided, to attain more detailed and complete knowledge for future reference.
Results Major problems encountered by the Burapa Field Command while fulfilling its
missions are listed such as 1. Indistinct Border Location 2. Drugs and Narcotics 3. Gambling sites
and casinos4. Car and motorcycle theft and robbery5. Illegal immigration 6. Mines and trap mines
The stated problems are complicated and bounded to economic, social, and cultural aspects of
citizens of both nationalities. Nearly 50 years of internal political disorder inevitably caused
periodical disruptions to the smooth relation with Thailand, leaving Cambodia economically
behind while having large social gap and the ‘crash of civilization.’
Recently, the political relation seems to improve as evidenced by the higher cooperation
as well as more than 20 economic, sanitary, social, education and cultural agreements signed by
the Thai - Cambodian Joint Cooperation Committee. The Committee has also agreed to promote
the bilateral relation covering economic, social, cultural, political and security aspects of relation.
It has signed a contract on international air transportation, allowing 2,000 passengers per week to
travel to specified locations in both countries. Along with stated cooperation, the following 2
agreements have been signed:
1. An agreement on counter illegal transportation and importation
2. An agreement on survey and land border establishment
3. The Pukam Agreement, signed on 12 November 2003, by authorities of Thailand,
Cambodia, Laos, and Myanmar, aims at economic wealth in the region, while promoting international unity. Along with close cooperation and the upgrade of welfare and quality of lives
of the people, the agreement has demonstrated some success towards solving regional economic
gaps. As a consequence, the Irawadee - Chao Praya – Mae khong Economic Cooperation
Strategy (ACMECS) was established to help promote and enhance the economic prosperity,
as well as other growth aspects: international security, social order, and military relations. Whilst,
on-going discussions include maritime border division, Thai-Cambodian Development Area, the
Economic Triangle Agreement. All of these existing and incoming agreements lead to the
solving of the border problems in the long run.
The most important factor in solving such problems is the effective and interactive
cooperation between the 2 nations with a through consideration of existing context to attain a
better and lasting relation in all aspects in the near future. Recommendations
1. The promotion of shared benefit. Economic cooperation between the 2 countries,
both government and private sectors, needs to be increased by more Thai investment in
Cambodia, in order to bring about all other aspects of relations. Complying with the Pukham
Agreement, higher economic association is the best way to strengthen the bi-national relation and
should be of highest concerns.
2. The serenity and patience of the Thai policies.Policies at all levels of the Thai counterparts
must be of highest consideration, not to create any negative feelings to the Cambodian side that
may result in difficulty of the relation
3. The building of positive relation by the nation leaders, military leaders, and other
executives. Relation barrier is lessened and will be ultimately broken by economic and business
incentives. Other aspects of cooperation, such as political and military relations at all level of
societies, may then follow. The border problems, in turn, are scaled down.
4. The assistance to the Cambodian. The sociological and economic support of the Thai
delegates for the Cambodian people must be deep down to the grassroots. Infrastructure and facility,
education, medication, technology transfer and academic cooperation are essential ingredients to
show the Thai sincerity to help build up a better Cambodia. In turn, positive attitudes of both
nations will result in smooth and lasting Thai-Cambodian relation.
The solving to the border problems requires all levels of cooperation, especially those
in the form of the joint committee. Forward Engagement and good neighbor relations will be a framework of bi-national relation in the future, which will result in the solving to problems and
the strengthening of the potential of the Association of South East Asian Nations (ASEAN) in the
international positioning.