สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute
NDSI- RASS
ระบบสืบค้นงานวิจัยและวิชาการ
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
คู่มือใช้งาน
Logout
Search
ค้นหา
Category
แสดงตามประเภท
แสดงทั้งหมด
งานวิจัย
งานวิชาการ
งานนวัตกรรม
เอกสารประกอบการศึกษาตามหลักสูตร
อื่น ๆ
แสดงตามปี
ปี พ.ศ. 2567
ปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2564
ปี พ.ศ. 2563
ปี พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2561
ปี พ.ศ. 2560
ปี พ.ศ. 2559
ปี พ.ศ. 2558
ปี พ.ศ. 2557
ปี พ.ศ. 2556
ปี พ.ศ. 2555
ปี พ.ศ. 2554
ปี พ.ศ. 2553
ปี พ.ศ. 2552
ปี พ.ศ. 2551
ปี พ.ศ. 2550
ปี พ.ศ. 2549
ปี พ.ศ. 2548
ปี พ.ศ. 2547
ปี พ.ศ. 2546
แสดงตามหน่วยงาน
แสดงทั้งหมด
สปท.
วปอ.สปท.
วสท.สปท.
สจว.สปท.
ศศย.สปท.
รร.ตท.สปท.
รร.ชท.สปท.
สศท.สปท.
แสดงตามสภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
แสดงทั้งหมด
Social-Psychology
Science and Technology
Economics
Strategy
Politics
Military
Education
Diplomacy
Information
Environment
not specified
แสดงตามหลักสูตรต่าง ๆ
แสดงทั้งหมด
หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรผู้นำพอเพียงด้านความมั่นคง
หลักสูตรเสนาธิการทหาร
หลักสูตรเสนาธิการร่วม
หลักสูตรนายทหารอาวุโส บก.ทท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่นคง
หลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ผู้บริหาร
หลักสูตรนักยุทธศาสตร์
หลักสูตร รร.ตท.สปท.
หลักสูตร รร.ชท.สปท.
หลักสูตรจิตวิทยาความมั่งคง สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานิ (สจว.สพฐ.
อื่น ๆ
Readed :
008519
Today :
000192
Total :
047632
Download :
000053
เรื่อง:
แนวทางการคุ้มครองพยานในคดีอาญาของกระทรวงกลาโหม
Download
Open PDF
E-Book
หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ภาณุ พรหมดิเรก
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2547
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการคุ้มครองพยานในคดีอาญาของกระทรวงกลาโหม โดย : พันเอก ภาณุ พรหมดิเรก สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (นรชัย วงษ์ดนตรี) พฤษภาคม ๒๕๔๙ ประเทศไทยได้ตราพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๖ ออกมาใช้ บังคับโดยมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม เป็ นหนึ่งในผู้รักษาการ กระทรวงกลาโหมจึงได้ออก ระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๘ มีคณะกรรมการ คุ้มครองพยานกระทรวงกลาโหม คณะกรรมการคุ้มครองพยานมณฑลทหาร และคณะกรรมการ คุ้มครองพยานจังหวัดทหาร มีอ านาจหน้าที่ในการพิจารณาให้การคุ้มครองพยาน และมีบันทึก ขอ้ ตกลงระหว่างกระทรวงยุติธรรมกับกระทรวงกลาโหม เพื่อประสานการปฏิบตัิระหว่างท้งัสอง กระทรวง แต่การปฏิบัติตามกฎหมายระเบียบ และบันทึกข้อตกลงดังกล่าวเป็ นเรื่องใหม่ เแต่ละ เหล่าทัพยังไม่มีระเบียบปฏิบัติรองรับ และยังไม่มีแนวทางการปฏิบัติของคณะกรรมการและ พนักงานเจ้าหน้าที่ จนถึงปัจจุบันจึงยังไม่มีการปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบดังกล่าว หากมีการ ปฏิบตัิตามกฎหมายฉบบั น้ีจริงเมื่อใดอาจเกิดปัญหาข้อขัดข้องหรือข้อผิดพลาดจนท าให้เกิดความ เสียหายต่อท้งักระทรวงกลาโหม คณะกรรมการและพนักงานเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวขอ้ง รวมตลอดถึง พยานบุคคล และผลแห่งคดี การศึกษาวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคเ์พื่อศึกษาประวตัิความเป็นมาแนวความคิดในการ มีมาตรการให้ความคุ้มครองพยานในคดีอาญา ศึกษาเปรียบเทียบมาตรการให้ความคุ้มครองพยาน ในคดีอาญาของไทยกับต่างประเทศ ศึกษาแนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการและพนักงานเจ้าหน้าที่ตามระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการคุ้มครองพยาน พ.ศ.๒๕๔๘ ศึกษา ประโยชน์ที่กระทรวงกลาโหมจะได้รับจากการด าเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานใน คดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๖โดยมีสมมติฐานว่า พยานในคดีอาญาที่กระทรวงกลาโหมให้ความคุ้มครองจะ ได้รับความปลอดภัย กล้าให้ถ้อยค าด้วยความจริงไม่เกรงกลัวต่อการถูกคุกคาม ประชาชนจะเห็นว่า กระทรวงกลาโหมสามารถปฏิบัติการทางทหารที่ไม่ใช่สงครามโดยช่วยเหลือกระบวนการยุติธรรม ในการคุ้มครองพยาน ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการวิจัยเชิงพรรณนา โดยการศึกษาเอกสารและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัย พบปัญหาข้อขัดข้องน าไปสู่ข้อเสนอแนะหลายประการ เช่น ปัญหาเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติของ คณะกรรมการคุ้มครองพยานได้เสนอแนะให้ส านักงานคุ้มครองพยานวางระเบียบปฏิบัติของ คณะกรรมการคุ้มครองพยาน เช่นการรับค าร้อง การรักษาความลับ ระยะเวลาในการด าเนินการ และในระหว่างที่ส่วนราชการข้ึนตรงต่อกระทรวงกลาโหม และเหล่าทัพ ด าเนินการวางระเบียบ ภายในเกี่ยวกับการคุ้มครองพยาน ผู้วิจัยได้เสนอแนะให้ คณ ะกรรมการคุ้มครองพยาน กระทรวงกลาโหม ซ่ึงมีเขตอา นาจไม่จา กัดพ้ืนที่ ด าเนินการคุ้มครอง พยานแทนคณะกรรมการ คุ้มครองพยานมณฑลทหารคณะกรรมการคุ้มครองพยานจังหวัดทหาร ไปพลางก่อน นอกจากน้ัน เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณค่าที่พกัในระยะเริ่มแรกเห็นควรให้ทา การซ่อมปรับปรุงกองร้อย/ กองพัน ที่ไม่มีการใช้งานให้เป็ นสถานที่คุ้มครองพยาน รวมท้งัเสนอแนะให้มีการประชาสัมพนัธ์ และเผยแพร่ความรู้ให้ประชาชนและข้าราชการกระทรวงกลาโหมทราบ ส่วนปัญหาก าลังพลในการ ปฏิบัติหน้าที่ได้เสนอแนะให้ส านักงานคุ้มครองพยานกระทรวงกลาโหมส านักงานคุ้มครองพยาน มณฑลทหาร และส านักงานคุ้มครองพยานจังหวัดทหาร เป็นหน่วยในอัตราของ กรมพระธรรมนูญ มณฑลทหาร และจังหวัดทหาร ตามล าดับ โดยก าหนดอัตราและบรรจุก าลังพลในอัตราใน ส านักงานดังกล่าว เพื่อรองรับการปฏิบัติหน้าที่ประจ าส านักงานน้นัโดยตรง นอกจากน้ันผู้วิจัยได้เสนอแนะในการศึกษาวิจัยต่อไปโดยติดตามผลการคุ้มครอง พยานในคดีอาญาของกระทรวงกลาโหมว่ายังมีจุดบกพร่องส่วนใด พยานหรือบุคคลที่ได้รับการ คุ้มครองมีทัศนะคติอย่างไร สถิติคดีที่มีการคุ้มครองพยานมีผลให้ศาลทหารลงโทษผู้กระท าผิดได้ มากข้ึนหรือไม่เพียงใด การคุม้ครองพยานมีผลให้พยานหรือบุคคลที่ได้รับการคุ้มครองมีความ มนั่ ใจในระบบการคุม้ครองพยานของกระทรวงกลาโหมหรือไม่เพียงใด จ าเป็ นต้องมีการแก้ไข ปรับปรุงระเบียบกระทรวงกลาโหมว่าด้วยการคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๘ ในประเด็น ใดหรือไม่ อย่างไร
abstract:
ไม่มี