Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ปิติ ต๊ะวิชัย ร.น.
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2547
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

ก ค ำน ำ การศึกษาวิจัยในเรื่องการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรของหมู่เรือช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยในทะเล เป็นการศึกษาวิจัยการปฏิบัติภารกิจของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลที่ผ่านมาเพื่อให้ทราบแ นวทางการแก้ไขอุปสรรคข้อขัดข้องอันเกิดจากการปฏิบัติงานของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในท ะเลที่กองทัพเรือได้ส่งไปท าการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยจากการเกิดพายุซีต้า การเกิดพายุลินดา การเกิดอุทกภัยที่จังหวัดสงขลา รวมถึงการเกิดสถานการณ์ธรณีพิบัติ(TSUNAMI) ที่บงัเกิดข้ึนบริเวณชายฝั่งทะเลอนั ดามนั ในพ้ืนที่บริเวณชายฝั่งทะเลของ ๖ จังหวัดภาคใต้เมื่อวันที่ ๒๖ ธนัวาคม ๒๕๔๗ ท้งัน้ี การศึกษาวิจัยได้เน้นหนักในด้านการปฏิบัติภารกิจของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล ในการปฏิบัติภารกิจช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลจากการเกิดสถานการณ์ธรณีพิบัติ ที่ก าลังทางเรือได้ปฏิบัติภารกิจอย่างเต็มขีดความสามารถ แต่สถานการณ์ธรณีพิบตัิเป็นสถานการณ์ที่เกิดข้ึนรวดเร็วและรุนแรงและไม่เคยเกิดข้ึนในประเทศไ ทยมาก่อน แม้การปฏิบัติภารกิจได้มีการเตรียมการเป็นอย่างดีแล้วก็ตาม ก็ยังเกิดปัญหา อุปสรรคข้อขัดข้อง ซึ่งปัญหาอุปสรรคขอ้ขดัขอ้งที่เกิดข้ึนดงักล่าว ท าให้ทราบถึงแนวทางในด้านการเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรส าหรับการปฏิบัติภารกิจในการ ช่วยเหลือผู้ประสบภัยของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล แนวทางการปรับปรุงขีดความสามารถของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลให้มีความพร้อมด้า นทรัพยากรในการปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบภัยของก าลังทางเรือ เพื่อให้การปฏิบตัิการช่วยเหลือผูป้ระสบภยัในคร้ังต่อ ๆ ไป สามารถกระทา ไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน การวิจัยคร้ังน้ีส าเร็จลุล่วงไปดว้ยดี ผูว้ิจัยขอขอบพระคุณผูบ้ งัคบั บญั ชา คณาจารย์ รวมท้งั นาวาเอก รชต แหล่งสิน อาจารย์ที่ปรึกษา นาวาเอก ธัชพงศ์ บุษบง ที่ปรึกษา สายวิทยาการ ตลอดจนผู้ที่ได้ให้ความกรุณาในการให้ข้อมูลและมีส่วนช่วยในการสนับสนุน ดา้นคน้ควา้หาเอกสารขอ้มูลในการทา การวิจยัทุกท่าน จนทา ให้เอกสารวิจยัฉบบั น้ีเสร็จสมบูรณ์ นาวาเอก (ปิ ติ ต๊ะวิชัย) นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่๔๗ พฤษภาคม ๒๕๔๙บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การเตรียมความพร้อมด้านทรัพยากรของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล โดย : นาวาเอก ปิ ติ ต๊ะวิชัย สำขำวิชำ : การทหาร อำจำรย์ที่ปรึกษำเอกสำรวิจัย : นาวาเอก (รชต แหล่งสิน) พฤษภาคม ๒๕๔๙ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลเป็นภารกิจหนึ่งที่รัฐบาลให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะเมื่อเกิดสถานการณ์ภยัพิบตัิร้ายแรง ที่ก่อให้เกิดความเสียหายท้งัชีวติ และทรัพย์สินของประชาชน อนั นา มาสู่ความเสียหายทางเศรษฐกิจ สังคม และความมนั่ คงแห่งชาติ กองทพั เรือเป็นหน่วยงานราชการที่มีบทบาทอนั ส าคญั ยิ่งในการช่วยเหลือผูป้ระสบภยัในทะเลไดด้า เนินการจดั ต้งัหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล โดยให้ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพเรือ (ศปก.ทร.) ดา เนินการจดั ต้งัหมู่เรือช่วยเหลือผูป้ระสบภยัในทะเลเมื่อวนั ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๔๓ อันประกอบด้วย เรือหลวงจกัรีนฤเบศร ปฏิบตัิการร่วมกนักบั เรือยกพลข้ึนบกขนาดใหญ่ และเรืออื่น ๆ ตามความเหมาะสม อากาศยาน รวมท้งันกัทา ลายใตน้ ้า จู่โจม จากหน่วยสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ ท้งัน้ีการจดั ต้งัหมู่เรือช่วยเหลือผูป้ระสบภยัในทะเลดงักล่าว เป็นการเตรียมพร้อม ณ ที่ ต้งัปกติให้พร้อมปฏิบตัิไดภ้ายใน ๒๔ ชวั่ โมง เมื่อกองทพั เรือสั่งการ จากการปฏิบัติภารกิจที่ผ่านมา ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลต่าง ๆ รวมท้งัการเกดิสถานการณ์ธรณีพิบตับิริเวณชายฝงั่ ทะเล อนั ดามนั ในพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลของ ๖ จังหวดั ภาคใต้ของประเทศไทย เมื่อวนั ที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๔๗ ท าให้ทราบอุปสรรคและข้อขัดข้องในการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรของหมู่เรือช่วยเหลื อผู้ประสบภัยในทะเล ที่ยงัคงบงัเกิดข้ึนท้งัดา้นการเตรียมความพร้อมทางดา้นทรัพยากรก่อนการปฏิบตัิภารกิจ และการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรระหว่างปฏิบัติภารกิจ การวิจยัคร้ังน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ของหมู่เรือช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยในทะเล ที่ท าการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลตลอดจนข้อขัดข้องจากการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรส าหรับการปฏิบัติภารกิจในการช่ว ยเหลือผูป้ระสบภยัในทะเลท้งัก่อนออกปฏิบตัิภารกิจและระหว่างปฏิบัติภารกิจ รวมท้งัหาแนวทางการปรับปรุงขีดความสามารถของหมู่เรือช่วยเหลือผูป้ระสบภยัในทะเลเพื่อให้ก ารปฏิบตัิภารกิจในคร้ังต่อไปสามารถกระทา ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน โดยมี สมมติฐานของการวิจัยว่า เมื่อได้มีการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยสถานการณ์ธรณีพิบัติแ ล้ว จะท าให้ก าลังทางเรือมีความพร้อมในการปฏิบัติภารกิจได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน วิธีด าเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยรวมรวมข้อมูลจากประสบการณ์ของผู้วิจัย ซึ่งเคยปฏิบัติหน้าที่ในหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล และขอ้มูลที่ไดศ้ึกษาคน้ควา้จากเอกสาร นโยบาย หลกัการ ระเบียบ คา สั่ง และทฤษฎี ในการช่วยเหลือ ผูป้ระสบภยัในทะเล อีกท้งัขอ้มูลจากการเกิดสถานการณ์ธรณีพิบตัิคลื่นยกัษส์ึนามิพดัถล่ม ๖ จังหวัดภาคใต้ เมื่อปลายปี พ.ศ.๒๕๔๗ ที่ผ่านมา น ามาเรียบเรียงวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลและ น ามาประกอบกับการสัมภาษณ์นายทหารสัญญาบัตรของกองทัพเรือที่มีประสบการณ์ในการร่วมป ฏิบัติภารกิจ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลก่อนการออกปฏิบัติภารกิจควรจะ ต้องมีการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเลหลายประกา รด้วยกัน ไดแ้ก่ การเตรียมความพร้อมดา้นน้า มนั เช้ือเพลิง คงเรือไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ การจัดเตรียมเสบียงอาหารจ านวนมากให้กับเรือที่ต้องออกปฏิบัติภารกิจในกรณีเร่งด่วน การจัดเตรียมถุงยังชีพส าหรับช่วยเหลือผู้ประสบภัย การจัดเตรียมเครื่องแบบส าหรับข้าราชการที่ปฏิบัติภารกิจ การเตรียมชุดเก็บกู้และซ่อมบ ารุงอากาศยานกรณีฉุกเฉิน ตลอดจน การพิจารณาการบรรจุก าลังพลให้กับ ร.ล. จักรีนฤเบศร ให้เต็มอัตรา ส าหรับการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพของหมู่เรือช่วยเหลือผู้ประ สบภัยในทะเลระหว่างการการออกปฏิบัติภารกิจ ควรจะต้องมีการเตรียมความพร้อมในด้านการบริหารจัดการหน่วยควบคุมการจราจรทางอากาศเมื่ อมีอากาศยานจา นวนมากปฏิบตัิงานในพื้นที่ การจัดหาเรือส่งน้ ามนั เชื้อเพลิงและแพกันกระแทก (Pontoon) ส าหรับเรือขนาดใหญ่ที่ปฏิบตัิงานในพื้นที่ฝั่งทะเล อันดามัน การเตรียมชุดเก็บกู้ค้นหาช่วยเหลือผู้ประสบภัย ตลอดจนการจัดเตรียมอะไหล่คงเรือเพื่อให้ ร.ล.จักรีนฤเบศร มีความพร้อมตลอดห้วงเวลาของการปฏิบัติภารกิจในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยในทะเล ท้งัน้ีผลของการวิจยัมีความสอดคลอ้งกบั สมมติฐานที่ไดต้้งัไวเ้ป็นอย่างยิ่ง ข้อเสนอแนะ ในการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรให้หมู่เรือช่วยเหลือประสบภัย ในทะเลมีความพร้อมทางด้านทรัพยากร สมควรที่จะมีการประสานการจัดเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรในด้านการส่งก าลังบ ารุงร่วม กับหน่วยเอกชนในพ้ืนที่ และสมควรมีการตกลงทา ความเข้าใจด้วยการประชุม สัมมนา พิจารณาข้อตกลงร่วมเกี่ยวกับการควบคุมอากาศยานที่มีปฏิบัติภารกิจในการช่วยเหลือผู้ประสบภั ยในทะเลร่วมกนั ท้งัในภาครัฐและภาคเอกชน ตลอดจนสมควรมีการพิจารณาจัดหาเรือส่งก าลังบ ารุงส าหรับเรือขนาดใหญ่ ที่ปฏิบตัิภารกิจในฝั่งทะเลอนั ดามนั รวมท้งัการจดัหาแพกันกระแทก (Pontoon) ส าหรับใชร้าชการบริเวณชายฝั่งทะเลอนั ดามนั ท้งัน้ี ผลของการวิจยัฉบบั น้ี สมควรมีการขยายผลของการวิจัยอย่างต่อเนื่องในการพัฒนาและจัดท าหลักนิยมในการช่วยเหลือผู้ ประสบภัยทางทะเลร่วมระวห่างประเทศเพื่อนบ้านและประเทศกลุ่ม อาเซียน ซึ่งจะสอดคล้องและเป็นไปตามนโยบายความมนั่ คงแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๖ - ๒๕๔๙ ในด้านก าลังอ านาจทางการทหารในการสร้างความพร้อมในการเผชิญกับวิกฤตการณ์ที่เป็นภัยพิบัติ ขนาดใหญ่ ท้งักบัธรรมชาติและการกระทา ของมนุษยท์ ี่จะบงัเกิดข้ึนในอนาคตต่อไปABSTRACT Title : Resource Preparation of The Royal Thai Navy Maritime Rescue Task Unit By : Captain Piti Tavichai Major Field : Military Research Advisor : Captain (Rachata Laengsin) May 2006 Searching and rescue maritime victims is one of the key missions of The Royal Thai Government. Especially when the disaster and cause damage to both people’s life and asset in aspect of economy, society and national security. The Royal Thai Navy is the official unit that plays and important role in rescuing in maritime victims. Naval operation center establish The Royal Thai Navy Maritime Rescue task Unit on October 27, 2000. It is composed of H.T.M.S. Chakrinaruebet works together with The Landing Ship Tank and Rescue Ship, maritime aircraft, and Naval Special Warfare team in accordance with the mission of rescue preys. The Establishment of The Royal Thai Navy Maritime Rescue Task Unit is the preparation in the naval base that prompt to operate in twenty-four hours when The Naval Operation Center assign. In the past, both search and rescue maritime victims in the sea and TSUNAMI disaster incident, which affected six provinces of the southern region of Thailand on December 26, 2004 made we know the obstruction the resource preparation of The Royal Thai Navy Maritime Rescue Task Unit before and all going operation period. The objective of this research are to analyze mission of The Royal Thai Navy Maritime Rescue Task Unit including obstruction, to analyze guideline of resource preparation for searching and rescue maritime victims operation in both before and all going operation period, and to find out the capability improvement of The Royal Thai Navy Maritime Rescue Task Unit for more efficiency in the future. The hypothesis of research is if resource preparation of The Royal Thai Navy Maritime Rescue Task Unit are promptly , the efficiency of mission will be increasingly. Research methodology are both descriptive research by collecting experience of researcher and document research by collecting policy, principle, rules, orders and theory of search and rescue maritime victims. More over, researcher has analyzed occurrence of TSUNAMI disaster altogether with deep interview of experience naval officers. The result of research summarize that the maximize efficiency of The Royal Thai Navy Maritime Rescue Task Unit before operation necessary to prepare the resource such as 80% of ship fuel, preserved foodstuffs, survival sack, the protection uniform for the rescue team, aircraft carrier equipment shipboard allowance enough to repair and crews for H.T.M.S. Chakrinaruebet. And the resources management all going operation period conclude on the unity of air control unit to control several air crafts in operation area, Replenishment ship and pontoon Search and Rescue equipment for the rescue teams and aircraft carrier equipment shipboard allowance to repair ship’equipment all going operation period. It’s found that this research harmonize above hypothesis Suggestion of research are four topics. First, co-operation relevant agencies for supporting preserved foodstuffs. Second, seek to consensus of air control unit conduct between public sector and private sector. Third, support logistic shipment and pontoon for the ship operation in the coastal of Andaman Ocean. Fourth, research for improving resource preparation continuously and develop co-operation with neighborhood country and ASEAN closingly.

abstract:

ไม่มี