เรื่อง: ศึกษาสภาพขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการในหน่วยปัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. บุญลือ ช่วยชู
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2547
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : ศึกษาสภาพขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการในหน่วย
บัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก
โดย : พันเอก บุญลือ ช่วยชู
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(โสภณ ศิริงาม)
มิถุนายน ๒๕๔๙
การท าเอกสารวิจัย เรื่อง “ศึกษาสภาพขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการใน
หน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก” มีความมุ่งหมายเพื่อให้ทราบว่า ปัจจุบัน
ข้าราชการในหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก มีสภาพขวัญและก าลังใจในการ
ปฏิบัติงานอยู่ในระดับใด และมีปัจจัยส าคัญอะไรที่มีอิทธิพลต่อขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน
เพราะขวัญและก าลังใจเป็ นพลังอ านาจก าลังรบที่ไม่มีตัวตน ที่มีความส าคัญต่อการปฏิบัติงาน หาก
ปราศจากขวัญและก าลังใจที่ดี การปฏิบัติงานก็จะไม่ประสบผลสา เร็จตามที่ไดต้้งัเป้าหมายไว้ ได้
ต้งัสมมติฐานไวว้่า ขา้ราชการหน่วยบญั ชาการป้องกนั ภยัทางอากาศกองทพั บกที่มี ระดบั ช้นั ยศ
อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส และรายได้ แตกต่างกัน มีขวัญและก าลังใจในการ
ปฏิบัติงานแตกต่างกัน กลุ่มประชากรที่ใช้ทา การวิจยั ไดแ้ก่ ขา้ราชการในหน่วยบญั ชาการป้องกนั
ภัยทางอากาศกองทัพบก จ านวน ๓๐๒ ราย ในการวิจัยได้ใช้แบบสอบถามเป็ นเครื่องมือในการหา
ขอ้ มูลปฐมภูมิ เป็นขอ้ มลู พ้ืนฐานของผูต้อบแบบสอบถาม และขอ้ มูลความคิดเห็นเกี่ยวกบั ปัจจยัที่
ส าคัญ ๕ ด้าน คือ การปกครองบังคับบัญชา ความผูกพันต่อหน่วยงาน และสภาพการปฏิบัติงาน
สภาพแวดลอ้ ม ความมนั่ คงและโอกาสกา้วหนา้ และสวสั ดิการ เมื่อไดข้อ้ มูลที่ตอ้งการ จึงนา
ข้อมูลไปวิเคราะห์ทางสถิติโดยใช้โปรแกรม SPSS for Windows ไปหาค่าร้อยละขอ้ มลู พ้ืนฐาน
ของกลุ่มประชากรตัวอย่าง และหาค่าเฉลี่ยของระดับขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน และทดสอบความแตกต่างของตัวแปร โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA) และค่า t – test
โดยก าหนดนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕
ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการในหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก มี
สภาพขวัญและก าลังใจในการปฏิบตัิงานอยใู่ นระดบั มาก ปัจจยัสา คญั ท้งั ๕ ดา้น ล้วนมีอิทธิพลต่อ
ขวญั และกา ลงัใจในการปฏิบตัิงานท้งัสิ้น คือ การปกครองบงัคบั บญั ชา ความผูกพนั ต่อหน่วยงาน
และสภาพการปฏิบตัิงาน สภาพแวดลอ้ ม ความมนั่ คงและโอกาสกา้วหนา้ และสวสั ดิการ ผลการ
ทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการในหน่วยบัญชาการป้องกันภัยทางอากาศกองทัพบก ที่มีอายุ
ระดบั ช้นั ยศ ระดบัการศึกษา และรายไดท้ ี่แตกต่างกนั มีระดบัขวญั และกา ลงัใจในการปฏิบตัิงานที่
แตกต่างกนั และเป็นไปตามสมมติฐานทไี่ ดต้้งัไว้ ส่วนขา้ราชการหน่วยบญั ชาการป้องกนั ภยัทาง
อากาศกองทัพบก ที่มีสถานภาพการสมรสแตกต่างกัน มีระดับขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน
ไม่แตกต่างกนั และไม่เป็นไปตามสมมติฐานทไี่ ดต้้งัไว้
ข้อเสนอแนะจาการศึกษาวิจัย คือ ผู้บังคับบัญชาต้องพิจารณาด าเนินการแก้ไขปรับปรุง
ในเรื่องสวัสดิการ ซึ่งเป็ นปัจจัยที่ท าให้ขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับน้อยกว่าทุก
ด้าน เพื่อให้ข้าราชการมีรายได้เพียงพอกับรายจ่าย โดยพิจารณาหาอาชีพเสริมให้กับข้าราชการ
เพื่อเพิ่มเงินไดร้ายเดือนให้มากข้ึน ตลอดจนความมนั่ คงและโอกาสกา้วหนา้ ผูบ้งัคบั บญั ชาตอ้งยึด
มนั่ ในระบบคุณธรรมอยา่ งโปร่งใส และทดัเทียมกนั ขวญและก าลังใจของข้าราชการในหน่วย ั
บญั ชาการป้องกนั ภยัทางอากาศกองทพั บกก็จะมีเพิ่มมากข้นึABSTRACT
Title : To Study The Morality Of ThePersonnel Of Army Air
Defense Command When Performing The Unit Tasks.
By : Colonel Boonlue Chuaychu
Major Field : Social-Psychology
Research Advisor : Colonel
(Sophon Siringam)
June2006
Objectives of the study on “ the morality of the personnel of the
Army Air Defense Command when performing the unit tasks” were to study the
morality level of personnel who worked in the Army Air Defense Command
and to study factors that have influence upon their morality. Morality could
actually be compared to an invisible potential power that so importance to all
operation. Without the morality, all tasks could not be accomplished at
satisfaction level. As so, the assumption of this study was laid such that
personnel with difference ranks, ages, educational levels, marriage status, and
salary would have different level of morality. Population of this study
comprised of 302 personnel in the Army Air Defense Command. The research
used a set of questionnaires as a tool to gather all primary data. Basically,
these data acquired personnel information and comments regarding 5 factors
namely, commanding factor, bonding to the unit, working environment job security and promotion, and finally welfare. All data was processed using SPSS
for Window program to find percentages of samplings for personnel information,
mean of morality level and differential test figures of each factor using ANOVA
and t –test with statistical significance at .05 level.
Research finding showed that the level of morality of personnel
working in the Army Air Defense Command was high. All 5 factors namely
command, job security and promotion, welfare had significant influences over the
morality of each personnel. Assumption test results showed that different ages,
ranks, educational levels, and salary had difference level of morality as suggested.
But marriage status factor showed no difference toward level of morality and
not agreed with an assumption.
The suggestions of this study were that the commander must improve
those factors regarding welfare in which personnel morale was lowest compared
to the other factors. Especially people with low income. One solution might be
to find extra job for those people hence higher income. Also the commander of
this unit must find the way to improve job security and promotion of their
own personnel. The commander must be using the same method without using
spoil system and morale respectively.
abstract:
ไม่มี