Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ทัศนคติของผู้ประกอบการในโรงงานควบคุมต่อมาตรฐานการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ศึกษาเฉพาะกรณี : โรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอในพื้นที่เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, นาย ธรรมยศ ศรีช่วย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2547
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ทัศนคติของผู้ประกอบการในโรงงานควบคุมต่อมาตรการสิทธิประโยชน์ ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน :ศึกษากรณีโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอในพ้ืนที่เขตกรุงเทพมหานครและ ปริมลฑล โดย : นายธรรมยศ ศรีช่วย สาขา : เศรษฐกิจ อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก (รชต แหล่งสิน) พฤษภาคม ๒๕๔๙ การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาความเข้าใจ (Cognition) และความรู้สึก (Affection)ของผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอต่อแนวทางและข้นั ตอนการขอรับการ สนับสนุนของมาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ๒) ประเมินแนวโน้มการ ยอมรับ (Acceptance) ในมาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ๓) รวบรวม ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดข้ึนจากการน ามาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน ไปปฏิบัติและ ๔) จัดท าข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการน ามาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษี เพื่อการอนุรักษ์พลังงานไปปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด วิธีการศึกษาที่ใช้ในการศึกษาคร้ังมี๒ ประเภท คือ การวิจัยเอกสาร (Documentary research)และ การวิจัยเชิงส ารวจ (Survey research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็ นโรงงาน อุตสาหกรรมสิ่งทอในเขตกรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรีและ ปทุมธานีจา นวน ๑๐๒ โรงงาน สถิติที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีคือ สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) ได้แก่ค่าร้อย ละค่าเฉลี่ย (x) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติส าหรับการทดสอบ สมมติฐาน คือ F-test และ Chi-square ผลการศึกษาได้ขอ้สรุปดงัน้ี ๑. กลุ่มตวัอย่างมีความรู้เกี่ยวกบัแนวทางและข้นั ตอนในการขอรับการสนับสนุนจาก มาตรการสิทธิประโยชน์ทางภาษีเงินได้ของกรมสรรพากรจากการลงทุนในอุปกรณ์ประหยัด พลังงาน (Cost-based tax incentive) ในระดับปานกลาง และมีความรู้สึกด้านบวกต่อมาตรการ (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๕๑) เพราะสอดคล้องกับนโยบายการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานของบริษัท (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๖) เหมาะสมกับสถานการณ์ด้านพลังงานในปัจจุบัน (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๐๗) และ ช่วยเพิ่มเสถียรภาพดา้นเศรษฐกิจของประเทศ(ค่าเฉลี่ยเท่ากบั ๔.๐๖) ๒. กลุ่มตัวอย่างแสดงความสนใจในการเข้าร่ วมโครงการเพียงร้อยละ๔๖.๐๘ เนื่องจากยงัต้องศึกษาขอ้ มูลของโรงงานอย่างละเอียดก่อนตดั สินใจเขา้ร่วมโครงการ และข้ึนอยู่กับ นโยบายของผูบ้ริหารระดบั สูงรวมท้งัสถานการณ์การเงินของบริษทั ๓. ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า มีความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรการและความรู้สึกที่ดีต่อโครงการในระดับน้อย ในขณะที่ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้สึกที่ดีต่อโครงการและการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการก็น้อยเช่นเดียวกัน แสดงว่าความรู้ ความเข้าใจ ในมาตรการฯ มีผลต่อการเกิดความรู้สึกด้านบวกต่อโครงการไม่มากนัก และ มีผลต่อ การตัดสินใจเข้าร่วมโครงการน้อยเช่นกัน เนื่องจาก เจ้าของโรงงานมีความกังวลว่า กรมสรรพากร จะเข้ามาแทรกแซง ตรวจสอบด้านการเงินของโรงงานและ คิดว่ากระบวนการการขอรับคืนภาษี ค่อนข้างยุ่งยาก ซับซ้อน และล่าช้า ผูว้ิจัย ได้เสนอ แนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพการให้การสนับสนุนทางด้านภาษี เงินได้จากการลงทุนในอุปกรณ์ประหยดั พลังงานด้วยการ เพิ่มความเข้มแข็งและปริมาณของ หน่วยงานที่ด าเนินการตรวจวัด การประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับเจ้าของโรงงานให้ มากข้ึน ปรับปรุงข้นั ตอนขอรับการสนับสนุนให้มีความซับขอ้ นน้อยลง และควรขยายการให้การ สนับสนุนต่อสินคา้ที่ใชใ้นกระบวนการผลิตมากข้ึน เพื่อจูงใจให้โรงงานเขา้ร่วมโครงการมากกว่าน้ี

abstract:

ABSTRACT Title : Designated Factories’ Attitude on Tax Incentive for Energy Conservation: A Case Study with Textile Industry in Bangkok and Suburban Area By : Mr. Thammayot Srichuai Major Field : Economic Science Research Advisor : Captain (Rachata Laengsin) May 2006 The objectives of this study were 1) to identify understandings and feelings of the factory owners and workers toward the cost-based tax incentive program which was deployed by the Department of Revenue, Ministry of Financial Affairs in cooperation with the Department of Alternative Energy Development and Efficiency ministry of Energy, 2) to evaluate acceptance potential of the garment factory owners and workers on the cost-based tax incentive program, 3) to gather problems and limitations of this program deployment and 4) to provide some recommendations for improving the participation process of this program in order to increase energy-saving efficiency of the country. Documentary research and survey research were used to gather data from 102 samples from the garment factories in the Bangkok Metropolis and suburban area. Descriptive statistic including percentage, means and standard deviation was used to analyze data and F-test and Chi-square were used to test hypotheses. The findings are as followings: 1) Samples understand application process of the cost-based tax incentive program at medium level while having positive feelings toward this program because the program helps reducing energy cost ( x=3.51), fits with corporate policy (x=4.04) and increases Thailand’s economical stability (x=4.06). 2) Samples are interested in participating this program (46.08%) but are still worried about the involvement of the Department of Revenue in their financial matters and the complexity of the program participation processes. 3)The hypothesis testing reveals that there is little relationship between the feelings toward the program and the decision to participate the program because the factories have to find out more detail information about the program and they are afraid of the rigid participation processes and the delay of the revenue refunds from the Department of Revenue. In order to increase program effectiveness, the researcher suggests that the necessaries actions have to be carried out such as increase number of auditors, give more information about the program to the factories, extend the reduction to more variety of energy saving commodities, and reduce application and revenue refund processes.