Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการปฏิบัติงานของศูนยาบัญชาการทางทหาร ในสถานการณ์วิกฤติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. เทวัญ สมบุญโต
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2547
จำนวนหน้า:
0
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : แนวทางการปฏิบัติงานของศูนย์บัญชาการทางทหารในสถานการณ์วิกฤติ โดย : พันเอก เทวัญ สมบุญโต สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก ( ชนินทร เฉลิมทรัพย์ ) พฤษภาคม ๒๕๔๙ จากการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันที่เป็ นยุคข้อมูลข่าวสาร ท าให้ปัจจัยในการ ควบคุมและอา นวยการยุทธเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดลอ้ม ท้งัทางด้านการควบคุมบงัคบั บญั ชา การสื่อสาร การบริหารจัดการข้อมูล เพื่อใช้ในการวางแผนและการปฏิบัติ ศูนย์อ านวยการร่วม กองบัญชาการทหารสูงสุด เป็ นหน่วยควบคุมบังคับบัญชา ในการอ านวยการ ประสานงาน และ ก ากับดูแล เกี่ยวกับงานป้องกันราชอาณาจักร การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การ รักษาความมนั่ คงภายในและภารกิจที่ได้รับมอบ จา เป็นที่จะต้องปรับเปลี่ยนท้งัโครงสร้างการจัด การบริหารจัดการ ขอบเขตและหน้าที่ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อภาวะวิกฤติ ที่มีรูปแบบต่างๆ นานา โดยยึดถือแนวทางตามหลักนิยมการรบร่วมของกองทัพไทย ด้วยการผสมผสานกา ลงัท้งัทาง บก ทางเรือและทางอากาศ เข้าด้วยกันในการแก้ไขปัญหา การรบในยุคปัจจุบัน มีความจ าเป็ นจะต้องพึ่งพิงเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมาก จน กล่าวได้ว่าทหารไม่สามารถปฏิบัติการยุทธได้หากปราศจากระบบการควบคุมบังคับบัญชาที่มี ประสิทธิภาพ ดังน้ัน การลิดรอนขีดความสามารถของขา้ศึกจึงจ าเป็นจะต้องท าการแทรกแซงและ บ่อนท าลายระบบสารสนเทศ ในการควบคุมสั่งการ ให้ลดประสิทธิภาพลง ในขณะเดียวกันก็ จะต้องท าการระมัดระวังการแทรกแซงของข้าศึกพร้อมกันไป ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและ ระบบการสื่อสารภายใน ท้งัฝ่ายทหารและพลเรือนของไทยก็จา เป็นตอ้งได้รับการ เฝ้าระวังจากการ โจมตีของข้าศึก หรือผู้ก่อการร้าย เพื่อให้สามารถด ารงขีดความสามารถในการปฏิบัติการอย่าง ต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ การน าเทคโนโลยีมาผสมผสานประยุกต์ใช้งานในกิจการทหารจึงถือไดว้่าเป็นการเพิ่มศกยภาพให้กับกองทัพ ั ถึงแมว้่าเทคโนโลยีจะไม่ใช่สิ่งที่จะสามารถบ่งช้ีชยัชนะได้ แต่อย่างน้อยก่อให้เกิดความได้เปรียบต่อฝ่ ายตรงข้ามถ้าอีกฝ่ ายหนึ่งมีเทคโนโลยีที่เหนือกว่า ดังน้ัน เมื่อไรก็ตามที่เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง สิ่งที่ตามมาคือการเปลี่ยนแปลงในกองทพั การพัฒนา ของเทคโนโลยีท าให้มิติของสนามรบเปลี่ยนแปลง อีกท้งัยงักา หนดโฉมใหม่ของสงคราม ผูว้ิจัยเลือกทา การวิจัยในเรื่องน้ีโดยมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาโครงสร้างการจัด และ การบริหารจัดการของศูนย์อ านวยการร่วม กองบัญชาการทหารสูงสุด เพื่อเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง การจดัและการบริหารจดัการ ให้เหมาะสมกับภาวะปัจจุบนั อีกท้งัการกา หนดขอบเขตหน้าที่ของ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานภายในศูนย์บัญชาการทางทหาร เพื่อเป็ นแนวทางในการจัดศูนย์บัญชาการ ทางทหาร ให้สามารถเผชิญกับปัญหาวิกฤติได้ โดยมีแนวความคิดมาจากการฝึ กผสมคอบร้าโกลด์ และการฝึ กร่วมกองทัพไทยที่ผ่านมา การศึกษาวิจัยผู้วิจัยได้ศึกษาโครงสร้างการจัดและแนวทางการปฏิบัติงานของศูนย์ บญั ชาการทางทหาร รวมท้งัปัญหาในการดา เนินงานที่เกี่ยวข้องกับระบบควบคุมบังคับบัญชา C 4 I ของกองทัพไทย โดยมุ่งเน้นแนวทางการปฏิบัติงานทางด้านข้อมูลข่าวสาร ด้วยการศึกษาค้นคว้า แนวความคิดการออกแบบการจัดองค์การตามทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่าการจัดศูนย์อ านวยการร่วม กองบัญชาการทหารสูงสุด ควรจัดให้อยู่ ในรูปแบบของศูนย์บัญชาการทางทหาร ที่มีสายการบังคับบัญชาที่ตามแนวนอนที่จะท าให้การ ประสานงานระหว่างฝ่ ายเสนาธิการร่วม และหน่วยที่เกี่ยวข้องมีประสิทธิภาพ การปรับเปลี่ยน หน้าที่ของชุดเวร ศูนย์อ านวยการร่วมในเวลาปกติ ให้สามารถท าหน้าที่ในศูนย์บัญชาการทางทหาร ในสถานการณ์วิกฤติได้อย่างต่อเนื่อง การจัดหน่วยงานบริหารจัดการข้อมูลข่าวสาร เพื่อบริหาร ข้อมูลในกองบัญชาการ ให้สามารถรองรับปริมาณข้อมูลในระหว่างการควบคุมและอ านวยการยุทธ ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการปรับปรุงศูนย์อ านวยการร่วม กองบัญชาการทหารสูงสุด เพื่อให้มีขีดความสามารถในการปฏิบตัิภารกิจในภาพรวม ซ่ึงจะต้องทา การปรับปรุงท้งัระบบใน เรื่องที่เกี่ยวข้องกับ ภาวะผู้น า/ผู้น า วัฒนธรรมของก าลังพลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านข้อมูล ข่าวสารการจัดองค์การ การฝึก หลกั นิยม เทคโนโลยีสารสนเทศ และสิ่งอา นวยความสะดวกใน ศูนย์บัญชาการทางทหาร โดยก าหนดแนวทางการปฏิบัติงาน ด้วยการใช้ระบบเครือข่ายแบบ ศูนย์กลาง

abstract:

ABSTRACT Title : The Concept of Execution in the Military Command Center under Crisis Situation By : Colonel Thewan Somboontoh Major Field : Military Science Research Advisor : Group Captain ( Chanintorn Chalermsap ) May 2006 As the present world has turned into the information era, the combat controlling and directing factors have also changed. These changes are in the command control communications and management of information for planning and execution. Joint Operations Center, Supreme Command Headquarters is the command and control unit in directing, coordinating and supervising the territorial defense, internal peace and security and the assigned mission. It is necessary to adjust the structure, management, scope and duties in order to respond to all crisis, following the concept of the RTARF’s joint warfare doctrine which combined the army, naval and air forces in solving the problem. In the present, all warfare relies a lot or the information technology. It is believed that the military was not able to fight without the effective command and control system. Then, to reduce the enemies’ capabilities it is necessary to intervene and subvert their information system. At the same time, it is also needed to be aware of their intervention. The internet network and internal communication of the military and civilians must be protected from the enemy or terrorist’s attack. The application of technology in military activities is the increase of the armed forces’ potential. Even though technology is not the key factor to win the war, higher technology provides more advantages. Therefore, changes of technology lead to changes in the armed forces. Development of technology brings us to the new dimension of war.This research is aimed to study the structure and management of the JOC, SCHQs and adjust them to be appropriate with present conditions. The duty scopes of personnel working in the Military Command Center are assigned so that they can handle with all crisis. This concept is based on the recent Joint/Combined Cobra Gold Exercise and The RTARF Combined Exercise. This research is being studied on the management structure and concept of the MCC Execution including the problem concerning the RTARF C3I system which stressed on the information execution. The organization concept is designed as the theory concerned. The research outcome indicated that the JOC, SCHQs should be reorganized as the MCC with the horizontal chain of command which led to effective coordination between the Joint Staffs and units concerned. The JOC duty teams in regular time should be adjusted in order to perform their duties in the MCC during the crisis situation continuously. The information unit is organized to execute the Headquarters’ data to support all data during the combat control and execution. The concept of JOC, SCHQs’ improvement being proposed in order to increase its capabilities to perform all missions system concerning leadership conditions and personnel culture have to be improved which are affected from the changes of information, organization management, training, doctrine, information technology and facilities in the MCC. The execution concept will be assigned by the Centric Network.