Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จการศึกษาของทหารกองประจำการตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน ศึกษาเฉพาะกรณีทหารบกในค่ายสุรนารีหน่วยมณฑลทหารบกที่ 21, กองพันทหารปืนใหญ่ที่ 103 และกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 3

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ณรงค์ สีทาแก
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2547
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความส าเร็จการศึกษาของทหาร กองประจ าการตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษา นอกระบบโรงเรียน ศึกษาเฉพาะกรณี: ทหารบก ในค่ายสุรนารี หน่วย มณฑลทหารบกที่ ๒๑ กองพันทหารปื นใหญ่ที่ ๑๐๓ และกรมทหารราบที่๓ กองพันทหารราบที่ ๒ โดย : พันเอก ณรงค์ สีทาแก สาขาวิชา : การทหาร อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก ( ชนินทร เฉลิมทรัพย์) มิถุนายน ๒๕๔๙ การวิจัยคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อ (๑) ศึกษาความรู้และทัศนคติ ของทหารกอง ประจ าการ ที่ได้รับการศึกษา ตามโครงการขยายโอกาส ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน (๒) ศึกษาความเข้าใจและการด าเนินงานของครูประจ ากลุ่ม เกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการพบกลุ่ม วิธีสอน และสื่อ ที่มีเวลาจ ากัดในช่วงแต่ละภาคเรียน ตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (๓) ศึกษาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ของผู้บังคับบัญชา ต่อนโยบายการจัดการ การศึกษาตามโครงการขยายโอกาสทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน กลุ่มประชากรตัวอย่างที่ใช้ ประกอบด้วย ทหารกองประจ าการ ที่ก าลังศึกษาปี การศึกษา ๒๕๔๗ – ๒๕๔๙ จ านวน ๑๒๐ นาย ครูประจ ากลุ่ม จ านวน ๓ นาย และนายทหาร โครงการจ านวน ๓ นาย รวม ๑๒๖ นาย เครื่ องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตรประมาณค่า มีค่าความเชื่อมนั่ เท่ากับ ๐.๙๗๔๕ และแบบ สัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (๑) ทหารกองประจ าการมีความรู้ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดีต่อ การได้รับการศึกษาจากครูประจ ากลุ่ม และผู้บังคับบัญชา มีความต้องการที่จะศึกษา แสวงหา ความรู้ ให้กับตนเอง (๒) ถึงแม้ว่าจะมีเวลาจ ากัด ในแต่ละช่วงภาคเรียน แต่การด าเนินงานของครู ประจ ากลุ่ม สามารถตอบสนองนโยบายการจัดการศึกษาได้เป็นอย่างดี มีความรู้ความสามารถ ในการถ่ายทอดความรู้ มีการจัดกิจกรรมการพบกลุ่มสัปดาห์ละคร้ัง โดยใช้เวลาว่างจากภารกิจ หลัก วิธีสอนและสื่อ และวางแผนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ (๓) ผู้บังคับบัญชาสามารถให้ การสนับสนุนต่อนโยบายในการจัดการศึกษา รวมท้งั ให้คา แนะน าปรึกษา จัดสิ่งอา นวยความ สะดวก อาคาร สถานที่ และเวลาที่ใช้ในการเรียนการสอน ABSTRACT Title : The Factors Effect to Graduation of Conscripts Who Enrolled In The Nonformal Education Program of The Basic Education Expansion Project. Case Study : The 21TH Military Cirele; 103 TH Artillery Battalion And 3 RD Regiment 2 ND Battalion In The Army Area Fort Suranaree By : Colnel Narong Sritakae Major Field : Military Research Advisor : Group Captain (Chanintorn Chalermsup) June 2006 The purposes of this research were (1) to study knowledge and attitude of Conscripts who take the nonformal education program of the basic education expansion project of the 21TH Military Cirele; 103 THArtillery Battalion And 3 RD Regiment 2 ND Battalion In The Army Area Fort Suranaree (2) to study and understand the processing of teachers with the group meeting activity, the teaching method and the teaching media in limited time; ( 3 ) to study the superiors’ opinion and suggestion to the policy of education provision under the nonformal education program . The sample of this research were collected from 120 Concripts who graduated during the academic years 2004 – 2006 3 teachers and 3 project officer of The 21TH Military Cirele; 103TH Artillery Battalion And 3 RD Regiment 2 ND Battalion Command In The Army Area Fort Suranaree Command Instruments used for data collecting were a questionnaire in rating scale form with the reliability 0.9745 and the interview form. Statistics used for data analysis were the percentage, mean and standard deviation. The results were the following : (1) Conscripts have better knowledge and positive attitude to the education provided by the teachers and commanders. (2) Although time was limited, the teachers were able to process and respond to the given educational policy. They have good ability to teach, arrange group meeting weekly on free time from the mission, use teaching method and media and also make the teaching plan efficiently. (3) The Commanders give good support respecting to the educational plicy including suggestion, building, facility and time to study.

abstract:

ไม่มี