เรื่อง: ความพร้อมของกำลังพล ร.29 พัน. 1 กับการปฏิบัติภารกิจใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ฐานวิญญ์ เหลืองภานุวัฒน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2547
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : ความพร้อมของก าลังพล ร.๒๙ พัน.๑ กับการปฏิบัติภารกิจใน ๓ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้
โดย : พันเอก ฐานวิญญ์ เหลืองภานุวัฒน์
สาขาวิชา : การทหาร
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(อุนฤทธิ์ นวลอนงค์ )
กรกฎาคม ๒๕๔๙
ปัญหาการก่อความไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ปัจจุบันทวีความรุนแรงมาก
ยิ่งข้ึนเป็นเหตุให้รัฐบาลตอ้งทุ่มเทท้งับุคลากรและงบประมาณ ตลอดจนแสวงหาแนวทางในการแก้ไข
ปัญหาอย่างมาก เพื่อคลี่คลายสถานการณ์ และสร้างสันติสุขให้คืนกลับมาโดยเร็ว กองทัพบกเป็น
หน่วยงานหลกัที่รัฐบาลมอบหมายให้จดักา ลงัเขา้ร่วมปฏิบตัิภารกิจดงักล่าว โดยคร้ังน้ีได้จัดก าลังจาก
หน่วยนอกกองทพั ภาคที่๔ ซ่ึงเป็นหน่วยนอกพ้ืนที่ร่วมปฏิบติงานด้วย ั
กองพันทหารราบที่ ๑ กรมทหารราบที่ ๒๙ เป็ นหน่วยหนึ่งที่ได้รับมอบภารกิจใน
ปีงบประมาณ ๒๕๔๙ โดยรับผิดชอบพ้ืนที่อา เภอ กรงปีนัง และอา เภอบันนังสตา จังหวดัยะลา
สิ่งที่ผูว้ิจัยต้องการทราบน้ันได้กา หนดวตัถุประสงค์ไว้ ๒ ประการคือ กา ลังพลของหน่วยมี
ความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนความพร้อมเพียงใดที่จะเผชิญสถานการณ์ในการเข้าร่วมแก้ไข
ปัญหา และองค์ความรู้ในการเสริมสร้างก าลังพลด้านใดบ้างที่หน่วยรวมท้งัหน่วยเหนือ จะต้อง
รีบปรับปรุงแก้ไข เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการเตรียมความพร้อมให้หน่วย ซึ่งจะต้องรับภารกิจ
ในปี ต่อไป
วิธีด าเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitatve Research) โดยมีข้อมูลปฐมภูมิ
จากการตอบแบบสอบถามของประชากร ซึ่งเป็นก าลังพล ร.๒๙ พัน.๑ ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างตาม
ทฤษฎีทเี่กี่ยวขอ้ง รวมท้งั การสัมภาษณ์กา ลงัพลบางตา แหน่งในเชิงลึก ซึ่งปรากฎว่าระดับของความพร้อมมีความขัดแย้งกับผลการวิเคราะห์อยู่บ้างพอสมควร แต่ผลการวิจัยโดยรวมคงปฏิเสธสมมติฐาน
เช่นเดียวกันคือ ก าลังพลแต่ละระดับมีความพร้อมในด้านต่าง ๆไม่แตกต่างกัน
สิ่งที่ควรศึกษาวิจยัเพิ่มเติม คือ การท าวิจัยเพื่อหาระดับความพร้อมของหน่วยที่จะต้องรับ
ภารกิจในปี ต่อ ๆ ไปว่ามีการเตรียมการหน่วยให้พร้อมมากข้ึน หรือยงัคงเป็นไปในลกัษณะเดิม
abstract:
ABSTRACT
Title : THE COMBAT READINESS OF THE 29TH INFANTRY
REGIMENT 1ST BATTALION AND MISSION IN THE 3
SOUTHERN BORDER PROVINCES
By : Colonel Thanawin Luangpanuwat
Major Field : Military
Research Advisor : Colonel
( Unarit Nualanong )
July 2006
At present, the problems of terrorism at three provinces in southern part of Thailand
are increased severity. From these problem, the government work hard including persons,
budgets, and the seeking of problem - solving strategies for correcting these situation and
making absolutely peace now. Royal Thai Army is major organization which is assigned by
the government for personal management to coordinate in this mission. For this mission,
the personal management is from the outer part of the fourth division of army which is
proactive unit.
The 29th Infantry Regiment 1st Battalion of The Twenty-Ninth is assignment unit
for these missions in 2006. Their responsibility is significant area at Krongphinung and
Bunnungstar of Yala province. The purpose of this research aim to study the
knowledge, understand concept, and promptly status of coping strategies and coordinately work with these missions proper. In addition to the knowledge of personal management of
the head quarter to improve and develop their effective ability about the preparation and
strategies. The finding is used to improve ability and preparation status of unit in the next
year.
This study is a quantitative research which the data were the primary data. The
participants are The 29th Infantry Regiment 1st Battalion who recruited by randomization
method of theory. Data are collected by structure - interview in depth with the
questionnaire.
The interviewed data reveal that the preparation level of the person is not associated
with the analysis result. The over all results of this study are no statistically significance
which do not support the hypothesis, this meant that the person in any level of command
had the preparation level in each dimensions with no difference.
The commentary from this research reveals that they could make a further study to
seek the proper preparation level in each unit for the next year. The improvement of
internal organization is significant and efficacy factors for the preparation level in the
terrorism situation.