เรื่อง: พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชนเขตบางเขน ปี 2549
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ชรินทร์ บุณยฤทธิ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2547
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้งัสมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎร
ของประชาชนเขตบางเขน ปี ๒๕๔๙
โดย : พันเอก ชรินทร์ บุณยฤทธิ์
สาขาวิชา : การเมือง
อาจารย์ที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก
( ศุภเศรษฐ์ ศิริสังข์ไชย )
พฤษภาคม ๒๕๔๙
การเลือกต้งัเป็นกิจกรรมที่ส าคญั ของกระบวนการทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
ที่ถือว่าอ านาจอธิปไตยเป็นของประชาชน การเลือกต้งัเป็นการสรรหานายกรัฐมนตรี คณะรัฐมนตรี
และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เลือกนโยบายที่ใช้สร้างสรรค์ความอยู่ดี มีสุขของประชาชน สร้าง
ความชอบธรรมในการใช้อ านาจทางการบริหารและสร้างบูรณาการทางการเมือง การปกครองให้
ประเทศชาติเจริญรุ่งเรืองสืบไป
การวิจัยเรื่องพฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกต้งัสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชน
เขตบางเขน เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๔๙ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (๑) ศึกษาพฤติกรรมของประชาชน
ที่ใช้สิทธิเลือกต้งัสมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร (๒) ศึกษาปัจจัยที่มี
ความสัมพันธ์ในการตัดสินใจไปใช้สิทธิและไม่ไปใช้สิทธิเลือกต้งัสมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎร ของ
ประชาชน เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร (๓) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพนัธ์ในการเลือกต้งั
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประชาชน เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร โดยการศึกษาวิจัยแบบ
ส ารวจ (Survey Research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้ที่มี
สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกต้งัในเขตบางเขน จา นวน ๔๖๐ ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าไคสแควร์ผลการศึกษาวิจัย สรุปไดด้งัน้ี
๑. ปัจจัยด้านบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า เพศชายและเพศหญิง มีจ านวนที่ไปใช้สิทธิ
ใกล้เคียงกัน ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง ๑๘- ๓๐ ปีการศึกษาระดบั ปริญญาตรีข้ึนไป ประกอบอาชีพ
ขา้ราชการและพนกังานรัฐวิสาหกิจ มีรายไดต้ ่อเดือนต้งัแต่๖,๐๐๑- ๒๔,๐๐๐ บาท
๒. เพศ อายุ การศึกษา รายได้ อาชีพ ทัศนคติต่อพรรคการเมือง และการมีส่วนร่วม
ทางการเมือง ไม่มีความสัมพนัธ์กบัการใชส้ิทธิเลือกต้งั
๓. ความรู้ความเขา้ใจเกี่ยวกบัการเลือกต้งั และความคิดเห็นต่อการทุจริตการเลือกต้งั มี
ความสัมพันธ์กับการไปใช้สิทธิเลือกต้งั
๔. เพศ การศึกษา รายได้ ความรู้ความเขา้ใจเกี่ยวกบัการเลือกต้งั และการมีส่วนร่วม
ทางการเมือง มีความสัมพันธ์กับเกณฑ์การตัดสินใจเลือกพรรค บุคคล และหัวหน้าพรรค
๕. อายุ อาชีพ ความคิดเห็นต่อการทุจริตเลือกต้งั ทศันคติต่อพรรคการเมือง ไม่มี
ความสัมพันธ์กับเกณฑ์การตัดสินใจเลือกพรรค บุคคล และหัวหน้าพรรค
ขอ้เสนอแนะในการปรับปรุงพฒั นาระบบการเลือกต้งัคือ รัฐบาลจะตอ้งส่งเสริมให้ประชาชน
มีความรู้ และเห็นความส าคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยสนับสนุนให้
ประชาชนมีส่วนร่วมทางการเมือง ปฏิรูปพรรคการเมืองให้เป็นพรรคมหาชนเพื่อให้มีความ
เข้มแข็ง มีนโยบายและอุดมการณ์ เพื่อประชาชนอย่างแท้จริง สนับสนุนให้มีองค์กรอิสระที่
โปร่งใส มีคุณธรรม จริยธรรมทา หนา้ที่ในการจดัการเลือกต้งัต่างๆ อีกท้งัให้ความรู้ ปลูกฝัง
อุดมการณ์ทางการเมือง การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอย่างยงั่ ยืนตลอดไป
abstract:
ABSTRACT
Title : Voting Behavior of Population in Bangkhen District for
Election of Members of parliament in 2006
By : Colonel Charin Boonyarit
Major Field : Politics
Research Advisor : Captain RTN.
(Supaset Sirisungchai )
May 2006
Election is an important element of Democracy which power from the people and must
be sovereign. Election is a procedure for choosing The Prime Minister, The Cabinet and
Representatives , making binding decisions concerning good policy to develop a welfare state.
This research has objectives to :
1. To study the voting behavior of population who have elective right in Bangkhen
District for Election of Members of parliament on 2 April 2006.
2. To study factors influencing the people’s decision making to use their right
or not to go to use their right in Members of Parliament Election on 2 April 2006.
3. To study factors in correlation with Members of Parliament Election on
2 April 2006.
The study was carried out by the Survey Research and questionnaires . The population
sampled for this research were 460 people who are entitled for voting in Bangkhen District.
Data analysis was carried out by finding out frequency, percentage, mean, chi-square.From the research , it was found that :
1. Personal factor of the population sampled , a number of male and female were nearly.
The majority of age were 18 – 30 years old , education not less than Bachelor , they were
government official and government enterprise employee, salary between 6,001- 24,000 baht .
2. Sex , age , education, revenue, occupation, attitude to political parties and political
participation have no relation with using of elective right.
3. Knowledge and understanding about election and opinion to elective dishonesty
have relation with going to use elective right.
4. Sex, education, revenue, knowledge and understanding about election and political
participation have relation with decision making criteria in election of the party ,
members of party and the party leader.
5. Age , occupation, opinion to elective dishonesty and attitude to political parties
have no relation with decision making criteria in election of the party , members of party
and the party leader.
Suggestion : to develop an Election , Government should support the people in education
and realize the importance of democracy promote them to participate in politics and modernize
the party to be the people’s party. It should be strength, idealist and have good policy, as a matter
of fact for the people. It should set up The Independent Public Agencies which are truly free and
fair to work for all elections , including to give knowledge in political ideology , all for the
everlasting democracy.