Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: หลักสูตรเสนาธิการทหารต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติในการยุทธร่วมของกองทัพไทย ศึกษาเฉพาะกรณี : นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ 47

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. จักรพงษ์ นวลชื่น
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2547
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : หลักสูตรเสนาธิการทหาร ต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติในการ ยุทธร่วมของกองทัพไทย ศึกษาเฉพาะกรณี: นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๗ โดย : พันเอก จักรพงษ์ นวลชื่น สาขาวิชา : การทหาร กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (เกรียงศักดิ์ หนองปิ งค า) พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ การวิจัยเรื่อง “หลักสูตรเสนาธิการทหารต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติในการยุทธร่วมของ กองทัพไทย ศึกษาเฉพาะกรณี นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๗” เป็นการวิจัยเชิง ปริมาณ (Quantitative) กล่าวคือ นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร ที่ได้รับอนุมัติเข้ารับการศึกษา มาจากหน่วยงานต่างๆ ในกระทรวงกลาโหมและส่วนราชการพลเรือน พ้ืนฐานของแต่ละบุคคลใน เรื่องการยุทธร่วมย่อมมีความแตกต่างกนั มีท้งัความเห็นดว้ยและไม่เห็นดว้ย หากแต่ความตอ้งการ ของวิทยาลัยเสนาธิการทหาร ไดม้ีการให้ความส าคญั ในเรื่องการยุทธร่วม มากข้ึนในทุกปี การศึกษาเพื่อท าความเข้าใจในทัศนคติของผู้เข้ารับการศึกษา จึงเป็นการประเมินการศึกษาอย่าง หน่ึงต่อการให้การศึกษาในเรื่องการยุทธร่วม ท้งัน้ีการยอมรับของเหล่าทพั ต่อการยุทธร่วม จึงเป็น ปัจจัยส าคัญในความส าเร็จของการปฏิบัติการยุทธร่วมเช่นกัน การศึกษาวิจยัในคร้ังน้ีจึงตอ้งการ ทราบการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของนักศึกษา เมื่อได้เข้ารับการศึกษาในเรื่องการยุทธร่วมว่ามีการ เปลี่ยนแปลงอย่างไรบา้งและมีปัจจยัใดที่มีความสัมพนัธ์ต่อการเปลี่ยน แปลงน้นั ในการศึกษาวิจัยน้ีผูว้ิจยัไดใช้แบบสอบถามและแบบวัด เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ้ ขอ้มูล ในข้นั ตอนการวิจยัผูว้ิจยัไดก้า หนดกรอบแนวทางการดา เนินงานไว้คือ การศึกษาเอกสาร วิจัย เอกสารต ารา และรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความต้องการศึกษาของผู้วิจัย การส ารวจพ้ืนฐานนักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร โดยการใชแ้บบสอบถามเพื่อรวบรวมขอ้มูลทวั่ ไป และใช้แบบ วัดทัศนคติในการรวบรวมข้อมูลของนักศึกษา ก่อนที่จะรับการศึกษาตามหลักสูตรของวิทยาลัย เสนาธิการทหาร เพื่อเป็นข้อมูลเปรียบเทียบ การส ารวจความเปลี่ยนแปลงของนักศึกษาภายหลังที่ ได้เข้ารับการศึกษาเป็นเวลา ๖ เดือน โดยใช้แบบสอบถามและแบบวัดทัศนคติ เพื่อเป็นข้อมูลใน การศึกษาการเปลี่ยนแปลง ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามและแบบวัดทัศนคติจะน ามาวิเคราะห์ โดยใช้การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ เพื่อประเมินผลการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของนักศึกษา และ การศึกษาถึงปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติดังกล่าว สุดท้ายเป็นการสรุป ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ที่ก าหนด ผลการวิจัยพบว่าระดับทัศนคติเฉลี่ยเกี่ยวกับการยุทธร่วม ของนักศึกษาหลักสูตรเสนาธิ การทหารรุ่นที่ ๔๗ จ านวน ๖๒ คน มีระดับทัศนคติก่อนเข้ารับการศึกษาหลักสูตรเสนาธิ การทหาร อยู่ระหว่าง ๒.๓๕-๔.๗๖ เฉลี่ย ๓.๘๔ (ทัศนคติเห็นด้วยกับการยุทธร่วมในระดับ ค่อนข้างมาก) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๘๑๙ และมีมีระดับทัศนคติระหว่างเข้ารับการศึกษา หลักสูตรเสนาธิการทหาร อยู่ระหว่าง ๒.๐๘-๔.๗๓ เฉลี่ย ๓.๕๔ (ทัศนคติเห็นด้วยกับการยุทธ ร่วมในระดับค่อนข้างมาก) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๗๙๘ จะเห็นได้ว่านักศึกษามีระดับทัศนคติ เฉลี่ยลดลงเล็กน้อย จาก ๓.๘๔ ลงมาที่ ๓.๕๔ แต่ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานมีค่าน้อยลง แสดงให้เห็น ว่านกัศึกษามีทศันคติไปในทางเดียวกนั มากข้ึน ในการทดสอบสัดส่วนของนักศึกษาที่มีระดับ ทศันคติเกี่ยวกบัการยุทธร่วม ท้งัก่อนและระหว่างการศึกษาเรื่องการยุทธร่วม มีความแตกต่างกนั หรือไม่ โดยใช้ McNemar Test ก าหนดระดับนัยส าคัญ α = ๐.๐๕ ผลการศึกษาพบว่า สัดส่วนของ ระดับทัศนคติในจ านวน ๕ เรื่อง จาก ๒๕ เรื่อง คิดเป็นร้อยละ ๒๐ ท้งัก่อนและระหว่างการศึกษา เรื่องการยุทธร่วม นักศึกษามีทัศนคติแตกต่างกัน โดยทศันคติเปลี่ยนไปในทางที่ดีข้ึน ผลการศึกษา ความสัมพันธ์ของตัวแปรพบว่า ปัจจัยด้านหน่วยงานและประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการยุทธร่วม มีความสัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของนักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาในเรื่องการยุทธร่วม โดยการให้ความส าคัญกับ การศึกษาในเรื่องการยุทธร่วม จะท าให้นักศึกษาเข้าใจและมีทัศนคติที่ไปในแนวทางเดียวกันมาก ข้ึน ดงัน้นัควรเน้นในเรื่องการยุทธร่วมเป็นส าคญั ส าหรับหลกัสูตรเสนาธิการทหาร โดยให้ ความส าคัญต่อบุคลากรที่สอน และเน้นในการปฏิบตัิให้มากข้ึน ส าหรับการประยุกต์ใช้การยุทธ ร่วมในการปฏิบัติงานของแต่ละเหล่าทัพ ควรใช้ได้ท้งัในการปฏิบตัิระดบักองบญั ชาการทหาร สูงสุด และในระดับเหล่าทัพ เพื่อให้ใช้ความสามารถของการยุทธร่วมได้ในทุกระดับ และเป็นการ สร้างความเข้าใจและเห็นถึงความส าคัญของการยุทธร่วม

abstract:

ABSTRACT Title : The Joint Staff Coursehad been effective the attitude changing of joint operating of the Royal Thai Armed Forces, Case study: The Joint Staff Course 47 By : Colonel Jakraphong Naulchuen Major Field : Military Research Advisor : Group Captain (Kriangsak Nong pingkham) May 2006 The research “The Joint Staff Course had been effective the attitude changing of joint operating of the Royal Thai Armed Forces, Case studies : The Joint Staff Course 47” is the quantitative research which the student officer in Joint Staff College are approved to education this course and come from the state agency of Defense Ministry and civil service. The individual fundamental in joint operation has been different attitude. But the Joint Staff College requirement has gave precedence to the joint operation more and more every year. The study for try to understand the student officer attitude is one of the study assessments against the joint operation. The joint operation agreements of the armed forces have the important factor to joint operation achievement. This research study has to know the student officer attitude changing when they got to education the joint operation and need to know , what are the factors have the relation to that changing. This research study, I use questionnaire and attitude scale are the research tools for get the information. The research step, I determine the flame works are documents study, research report which concern about study objective and the study officer basic survey by questionnaire and attitude scale for pretest and posttest. After that the information will be process by comparative approach for assess the attitude changing and study the factors are related with the attitude changing. The last step is the result objective summary. The research result finds the average attitude level of the student officer 62 amounts have pre-study attitude level between 2.35-4.76 average 3.84 (very much level) the standard deviation is 0.819 and post-study attitude level between 2.08-4.73 average 3.54 (very much level) the standard deviation is 0.798 . The average attitude level will be decreases from 3.84 to 3.54 but the standard deviation has decreases value. It indicates to know the students officer have their same attitude. The ratio testing of the students officer which have different the joint operation attitude is used McNemar Test by significant determination α=0.05. The research result finds the attitude level ratio has different attitude (5 from 25 subjects) by the attitude is proper direction. The relation study result of the variable fined the state agency factor and the joint operation experiences have the relation to the student officer attitude changing. I have the suggestion about the joint operation study; they should have a priority of the joint operation education. It will be the student officer understands to the same direction more and more. So they should be emphasize the joint operation in the joint staff course by give a priority of the instructors and emphasize to increase the operating. The operating applied in the each armed force should be operated in Supreme Command Headquarter and the armed forces.