เรื่อง: การรักษาความปลอดภัยสนามบินดอนเมืองเพื่อรองรับการจัดการประชุมนานาชาติระดับผู้นำรัฐบาล ศึกษาเฉพาะกรณี : การจัดการประชุม APEC 2005
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ดุสิต น้ำฝน
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2546
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การรักษาความปลอดภัยสนามบินดอนเมือง เพื่อรองรับการจัดการประชุมนานาชาติ
ระดับผู้น ารัฐบาล ศึกษาเฉพาะกรณี :การจัดการประชุมเอเปค ๒๐๐๓
โดย : นาวาอากาศเอก ดุุ สิต น้า ฝน
สาขาวิชา : การทหาร
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
( กฤษณะ นิ่มวฒั นา )
มิถุนายน ๒๕๔๘
การศึกษาเรื่อง “การรักษาความปลอดภัยสนามบินดอนเมือง เพื่อรองรับการจัดประชุม
นานาชาติระดับผู้น ารัฐบาลศึกษาเฉพาะกรณี : การจัดการประชุมเอเปค ๒๐๐๓” มีวัตถุประสงค์ที่
จะศึกษาแนวความคิดในการก าหนดมาตรการการรักษาความปลอดภัยต่าง ๆ ข้อดี และข้อขัดแย้ง
ของการปฏิบัติด้านการรักษาความปลอดภัย ณ สนามบินดอนเมือง ในห้วงเวลาที่มีการประชุม
เอเปค ๒๐๐๓ ระหว่าง ๑๖ – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๖ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีอากาศยานของผู้น าเศรษฐกิจ
เดินทางเข้า –ออก ประเทศไทย รวมท้งัขณะที่อากาศยานของผูน้ า เศรษฐกิจจอดคา้งคืน ณ ลานจอด
อากาศยานของกองทัพอากาศ ส าหรับน าไปแก้ไขจุดอ่อนของมาตรการรักษาความปลอดภัย เพื่อ
การจัดประชุมนานาชาติระดับผู้น ารัฐบาล / ประมุขของรัฐในคร้ังต่อ ๆ ไป กบั เพื่อเป็นแนวทางที่
สนามบินนานาชาติแห่งอื่น ๆ สามารถนา ไปใชเ้พื่อลดโอกาสที่ผูก้่อการร้ายใชเ้ป็นพ้ืนที่ปฏิบัติการ
ก่อการร้ายต่อสนามบิน ตลอดจนใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัย
สนามบิน / ฐานบิน ให้มีประสิทธิภาพสูงสุดผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ความพร้อมของท่าอากาศยานกรุงเทพในการรองรับเครื่องบิน
พิเศษ มีขอ้จา กดั ท้งัดา้นภูมิศาสตร์ที่อยู่ใกลช้ิดติดถนนหลวง ไม่มีพ้ืนที่รองรับในการรักษา
ความปลอดภัยบุคคลส าคัญ ยากแก่การป้องกัน เพราะสามารถสังเกตความเคลื่อนไหวบริเวณ
ท่าอากาศยานกรุงเทพไดช้ ดัเจน นอกจากน้ีพ้ืนที่โดยรอบของท่าอากาศยานอยู่นอกเหนืออ านาจของ
บริษทั การท่าอากาศยานไทย จา กดั ( มหาชน ) ทา ใหก้ารรักษาความปลอดภยัพ้ืนที่ภายนอก
ท่าอากาศยานในภาพรวมอย่างเป็นระบบกระท าได้ยาก รวมท้งัหลุมจอดเครื่องบินขนาดใหญ่มาก
(Boeing 747 / Airbus – 300) มิได้เตรียมไว้ส าหรับเครื่องบินพิเศษที่บุคคลส าคัญระดับผู้น ารัฐบาล /
ประมุขของรัฐน าเดินทางมาเอง จะกระทบกระเทือนหลุมจอดเครื่องบินพาณิชย์ในขณะที่สนามบิน
สุวรรณภูมิจะมีความพร้อมที่จะด าเนินการได้อย่างเร็วที่สุดในปี ๒๕๕๐ ในการรับรองการจัดการ
ประชุมนานาชาติระดับผู้น ารัฐบาล
พ้ืนที่เสี่ยงบริเวณท่าอากาศยานกรุงเทพ จะตกเป็ นเป้าหมายของผู้ก่อการร้ายข้ามชาติ
ก่อวินาศกรรมต่อสนามบิน และอากาศยานโดยเฉพาะบริเวณ ด้านทิศเหนือและทิศใต้ของสนามบิน
น่าจะใช้เป็นต าบลต้งัเครื่องยิงจรวดน าวิถีแบบประทับบ่าในระยะหวังผลสูงสุดขณะเครื่องบิน
บินข้ึน หรือร่อนลง
ภายหลังจากกองทัพอากาศได้รับงบประมาณในการปรับปรุ งลานจอดอากาศยาน
ให้สามารถรองรับ เครื่องบินขนาดใหญ่มาก สามารถจอดค้างคืนได้จ านวนสูงสุด 16 ล า หรือเป็ น
เครื่องบินขนาดเล็กกว่าน้ีลงมาจะสามารถรองรับได้จ านวนมากข้ึนอีก ท าให้กองทัพอากาศ
เตรียมการด้านความพร้อมของการรักษาความปลอดภัยบุคคลส าคัญ และอากาศยานตลอดจน
สิ่งอา นวยความสะดวกต่าง ๆ ให้สามารถให้การต้อนรับ และรับรองบุคคลส าคัญที่เดินทางมายัง
ประเทศไทยโดยอากาศยานพิเศษ ในระดับสูงสุดได้ กองทัพอากาศสามารถบูรณาการการจัดการ
ด้านการรักษาความปลอดภัย การป้องกันภัยคุกคามทางอากาศ และภัยคุกคามทางภาคพ้ืน หรือ
วิธีการอื่นใดของฝ่ ายตรงข้าม ตลอดจนการเตรียมการด้านการข่าว การวางข่ายการสื่อสาร และ
การปฏิบัติการลานจอด การรักษาความปลอดภัยอากาศยานค้างคืน การเข้าตรวจป้องกันการ
ล่วงละเมิดพ้ืนที่รวมท้งัอา นวยความสะดวกจราจร ทา ให้การจัดการประชุมเอเปค ๒๐๐๓ ในส่วน
ของสนามบินดอนเมือง ต้ังแต่อากาศยานบุคคลส าคัญของผู้น าเศรษฐกิจเข้าเขตประเทศไทย
จนอากาศยานเดินทางกลับโดยปลอดภัยและสวัสดิภาพ แสดงศักยภาพของการใช้สนาม บิน
ดอนเมือง เพื่อรองรับการจัดการประชุมนานาชาติระดับผู้น ารัฐบาล/ประมุขของรัฐได้ABSTRACT
Title : Donmuang Airfield Security Measures for international Conferences of
Government Leader, Case Study : The 11th APEC Economic Leaders Meeting
2003
By : Group Captain Dusit Namfone
Major Field : Military
Research Advisor : Group Captain
(Krishna Nimwattana)
June 2005
This research paper is an attempt to examine Royal Thai Airforce’s security measures of
Donmuang Airfield. The objectives of this research are firstly, to study conceptual framework of
security measures, the security process undergone and secondly to construct and to test The 11th
APEC Economic Leaders’ Meeting 2003 during 16-22 October 2003 basing on theoretical
reasoning and relevant research finding and employing content analysis.
The results showed that Donmuang Airfield (Royal Thai Air Force Base) appropriate
suitable for VVIP’s traveling by personal aircraft, as its highest effectiveness security measures,
even Suvarnabhumi Airfield has not set up yet through 2006
Since Royal Thai Air force Base had improved its apron, building and another facilities
in June 2003, which will be faced for 16 VVIP;s large aircraft (Boeing 747/Airbus-300) parking,
that Airport of Thailand Public Company Limited (Bangkok International Airport) cannot effort
this activities.
Royal Thai Air Force has been experienced in major activities for the reception and
farewell of all VVIP’s, air transportation and security. During the 11th Apec Economic LeadersMeeting Royal Thai Air Force had assigned for VVIP’s Security Mission in air defense, ground
defense and other devices protection. Besides, many major issue in intelligence, communications,
apron services, aircraft parking protection, and mobile facilities, which successfully approved and
no harm had been found.
ค าน า
ผู้วิจัยปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาความปลอดภัยมาเป็ นระยะเวลาพอสมควร เรื่องที่ผู้วิจัย
สนใจถึง หลีกไม่พ้นเรื่องที่เกี่ยวกับงานด้านการรักษาความปลอดภัย งานวิจัยชิ้นน้ีจึงเป็นความ
ภาคภูมิใจของผูว้ิจยั เนื่องจากเป็นผูเ้ริ่มดา เนินงานมาต้งัแต่เริ่มตน้ จึงใคร่ขอขอบคุณผูบ้ งัคบั บญั ชา
ที่ให้โอกาสและอนุญาตให้ใช้ข้อมูลเพื่อการศึกษา และผู้วิจัยขอขอบคุณในความกรุณาของ
นาวาอากาศเอก ธีระพงษ์ วรรณส าเริง ที่ปรึกษาเอกสารวิจัยและนาวาอากาศเอกกฤษณะ นิ่มวฒั นา
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย ที่ได้ให้คา แนะนา และความเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาคร้ังน้ี
เป็นอย่างมาก
นาวาอากาศเอก
(ดุสิต น้า ฝน)
นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหารรุ่นที่ ๔๖
มิถุนายน ๒๕๔๘
abstract:
ไม่มี