Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ความสามารถในการยุทธร่วมของกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. ณรงค์ อินทชาติ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2546
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ความสามารถในการยุทธร่วมของกองทัพไทย โดย : นาวาอากาศเอก ณรงค์ อินทชาติ สาขาวิชา : การทหาร กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก (ชนินทร เฉลิมทรัพย์) กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕ ๔๘ การวิจัยเรื่อง “ความสามารถในการยุทธร่วมของกองทัพไทย (The Joint Operation Competency of the Royal Thai Armed Forces)” เป็นการวิจัยเชิงส ารวจ (Survey Research) จาก แนวโน้มของสงครามในอนาคตจะเป็นสงครามที่อาศัยเทคโนโลยี ซึ่งมีการพัฒนาระบบโครงสร้าง พ้ืนฐานทางอิเลคทรอนิกส์ ๖ ประการคือ ๑. มีปฎิกิริยาตอบสนองตามที่ต้องการ ๒. เคลื่อนที่ได้ สะดวก ๓. ดัดแปลงได้หลายรูปแบบ ๔. เชื่อมต่อได้ในลักษณะเครือข่าย ๕. มีอยู่และหาได้ง่ายในทุก ที่ ๖. เป็นโลกาภิวตัน์เชื่อมต่อถึงกนัไดท้ วั่ โลก จากพ้ืนฐานทางอิเลคทรอนิกส์ดงักล่าวทา ให้เกิดการ ปฏิวัติในกิจการทหาร ซึ่งครอบคลุมการเปลี่ยนแปลงหลัก ๓ ประการ ได้แก่ เทคโนโลยีทหาร หลัก นิยมการยุทธ และการจัดองค์กรทหาร ส่งผลให้การรบในอนาคตจะมีลักษณะเป็นการยุทธร่วม (Joint) หรือผสม (Combine) ถึงแม้ประเทศไทยยังไม่มีประสบการณ์ตรงในการรบดังกล่าว แต่ก็มี การเตรียมพร้อมที่จะเผชิญเหตุการณ์อยู่เสมอ โดยการพฒั นาบุคลากรให้พร้อมท้งัความรู้ มีทัศนคติ ที่ดี และมีความสามารถที่จะท าการยุทธร่วม (Joint Operation)จึงท าให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษา ความสามารถในการยุทธร่วมของกองทัพไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรู้ ทัศนคติ ความสามารถในการยุทธร่วม และปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ทัศนคติรวมถึงความสามารถในการยุทธ ร่วม โดยมีสมมติฐานการวิจัยว่า ๑. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ประสบการณ์ท างาน ประสบการณ์ การศึกษา และประสบการณ์ในฝึ กการฝึ กร่วม/ผสม มีผลต่อความรู้ในการยุทธร่วม ๒. ปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ประสบการณ์ท างาน ประสบการณ์การศึกษา และประสบการณ์ฝึ กการยุทธร่วม มีผลต่อทัศนคติในการยุทธร่วม และ ๓. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ประสบการณ์ท างาน ประสบการณ์ การศึกษา และประสบการณ์ฝึ กการยุทธร่วม มีผลต่อความสามารถในการยุทธร่วม มีข้อตกลง เบ้ืองตน้ ว่านกัศึกษาที่กา ลงัศึกษาในวิทยาลัยเสนาธิการทหาร และโรงเรียนเสนาธิการทหารเป็น ตัวแทนของ ฝ่ ายเสนาธิร่วมตามหลักนิยมกองทัพไทย แต่เนื่องจากข้อจ ากัดของเวลา ท าให้การวัด ความสามารถในการยุทธร่วมในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นการวัดจากความรู้และทัศนคติ ซึ่งเป็น ความสามารถเพียงบางส่วน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัยคือ น าผลที่ได้มาเป็นข้อมูล พ้ืนฐานในการจดั หลกัสูตรการฝึก-ศึกษาที่เกี่ยวข้อง และพัฒนาให้บุคลกรของกองทัพไทยมี ความสามารถในการยุทธร่วมมากยิ่งข้ึน การวิจยัคร้ังน้ี มีระเบียบวิธีวิจัยคือ กลุ่มตัวอย่าง และประชากร ได้แก่ นักศึกษาที่ก าลัง ศึกษาในหลักสูตรวิทยาลัยเสนาธิการทหาร (วสท.) และ โรงเรียนเสนาธิการทหาร ๓ เหล่าทัพ จ านวน ๒๐๗ คน เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ผ่านข้นั ตอน การพัฒนาประสิทธิภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ การทดลองใช้(Try out) และการใช้สถิติ วิเคราะห์ ข้อมูลโดยโปรแกรมส าเร็จรูป SPSS For Windows version ๑๐.๐ ด้วยสถิติร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของ เพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ แบบข้นั ตอน (Multiple Regression Analysis-Stepwise Method) ผลการวิจัยพบว่าโดยเฉลี่ยแล้วกลุ่มตัวอย่างมีระดับความรู้ปานกลาง มีทัศนคติเห็นด้วยกับ การยุทธร่วมค่อนข้างมาก และมีความสามารถในการยุทธร่วมระดับปานกลาง เมื่อน าเอาตัวแปรที่ มีความสัมพันธ์กับความรู้ ทัศนคติและความสามารถในการยุทธร่วม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ ๐.๐๕ จากการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์(Pearson Product Moment Correlation) มาหาปัจจัยที่มีผลต่อระดับความรู้ ทัศนคติและความสามารถในการยุทธร่วม ด้วยค่าสัมประสิทธิ์ การถดถอยแบบพหุ (Multiple Regression Analysis) พบว่า ที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ ๐.๐๕ ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ในการยุทธร่วม ได้แก่ สถาบันการศึกษาก่อนรับราชการ ในขณะที่ ปัจจัยที่ มีความสัมพันธ์กับทัศนคติ ได้แก่ หลักสูตรการศึกษาในระหว่างรับราชการ และปัจจัยที่มีผลต่อ ความสามารถในการยุทธร่วม ได้แก่ อายุ ประสบการณ์ในการฝึ กร่วม (Joint Operation) หรือฝึ ก ผสม (Combine Operation) คือ การฝึ ก Cope Tiger และการฝึ กแลกเปลี่ยน (CTX) ของการฝึ กร่วม กองทัพไทย โดยสรุปปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ทัศนคติและความสามารถในการยุทธร่วม จะได้มาจาก ประสบการณ์ส่วนบุคคล การท างาน และการได้รับการพัฒนาความรู้ในระหว่างรับราชการ ตลอดจนการฝึ กร่วมหรือฝึ กผสมผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะ ให้กองทัพไทยด าเนินการส่งเสริมความสามารถในการยุทธร่วมโดย การพฒั นาหลกัสูตรให้นายทหารท้งั ๓ เหล่าทพัไดศ้ึกษาร่วมกนั เพื่อให้เขา้ใจในการปฏิบัติการยุทธ ร่วมที่มีประสิทธิภาพ นอกจากน้นควรที่จะมีการคัดสรรบุคคลให้เหมาะสมกับหลักสูตร ภายใต้ ั มาตรฐานเดียวกัน ในส่วนของผู้บังคับบัญชาระดับสูงของกองทัพไทยควรที่จะส่งเสริมในบุคลากร ของกองทพัไดม้ีโอกาสศึกษาเพิ่มเติมระหว่างรับราชการ ส่งเสริมให้มีการศึกษาดูงาน การเขา้ร่วมฝึก ฯลฯ เพื่อให้นายทหารของกองทัพไทยมีความรู้ ทัศนคติ และความสามารถที่ดีต่อการยุทธร่วม รวมถึงควรที่จะมีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของนายทหารฝ่ ายเสนาธิการทหารร่วม เพื่อเป็นการ เตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติการร่วม ต้งัแต่ในยามปกติ

abstract:

ABSTRACT Title : The Joint Operation Competency of The Royal Thai Armed Forces By : Group Captain Narong Intachat Major Field : Military Research Advisor : Group Captain (Charnintorn Charleamsab) 20 July 2005 The joint operation competency of the Royal Thai Armed Forces is a survey research. The evidence of global trend inspires to the rationale of this research. The changing of global trend based on 6 types of high technology development. They are 1) interactivity 2) mobility 3) convertibility 4) connectivity 5) ubiquity and 6) globalization. Regarding to the important factors as mentioned, they have brought about the Revolution in Military Affairs (RMA) which was summarized into 3 principles: military technology, operation doctrine and military organization reform. They effect further combat, which tend to potential troops jointness. Royal Thai Armed Forces is ready to deal with the near future trend by developing competency of the Royal Thai Armed Forces’ personnel. It interests me to conduct this research objectives as: to explore the level of knowledge, attitude and competency in the joint operation of the Royal Thai Armed Forces and to search the factors related to the three factors as mentioned. The research hypotheses are: 1) the individual factors (such as working experience, educational experience and joint /combined operational exercise experience) effect their knowledge towards the joint operation. 2) and 3) the individual factors also effect their attitude and competency towards the Joint Operation. This research provides assumption as: persons who are study in Joint Staff College, Air Force, Army and Navy Staff College are expected to have high performance in competency of the joint operation as identified in Royal Thai Armed Force Doctrine. On account of time limitation the measurement of competency on the joint operation is only done in form of knowledge and attitude. Actually, the competency is influenced with many factors. The advantage of this study is to develop the appropriate joint curriculum and the means of increasing competency in joint operation for the Royal Thai Armed Forces’ personnel. The research methodology’s details are: selected population and samples which are 207 students from Joint Staff College, Air Force, Army and Navy Staff College. A multistage random sampling technique was employed to obtain samples. The total number of samples was 207 students. The research tools are questionnaires which are developed in quality by the experts, trying out and utilizing statistical. The package analysis program is SPSS for windows version 10.0. The descriptive statistic analysis has included percentage, mean and standard deviation. An examination of related and effected factors to independent variables is Pearson Product Moment Correlation and Multiple Regression Analysis-stepwise method. The results illustrated that the samples have average of knowledge. (knowledge’s scale comprised of three items : above average, average and below average) Otherwise, the attitude and competency were pretty well (attitude and competency’s scale comprised of five items: very well, pretty well, neutral, well enough, not too well ). Thereafter, at the level of significant 0.05, the factors which correlate with independent variable are analyzed in the next step. Finally, the factor effecting to the knowledge of joint operation is “institute before working”. While, “an education during working” effect the attitude of joint operation. Meanwhile, variable of “ages”, “joint operation exercise” especially “Cope Tiger”, and “cross training exercise (CTX) of Joint Thai Army” effected the competency of joint operation. In sum, many experiences in working, education, exercise and training are proved to be important factors in developing joint operation’s knowledge, attitude and competency. From this study, I would like to give individual suggestions as: the Royal Thai Army authority should unify joint operation curriculum. The special program is expected to take better understanding in joint operation. The process of selecting person to attend this program should provide condition of national standard and transparent process. Otherwise, Commander in Chief should support performance improvement and human resources development by education, exercise and training process, etc. Importantly, the intensive- regular monitoring and evaluation are absolutely processed, as well.