เรื่อง: ยุทธศาสตร์นำไทยสู่สังคมโลกของสถานีโทรทัศน์ดาวเทียมแห่งแรกของไทย (TGN) ศึกษาเฉพาะกรณี : รายการและข่าว
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ชาญชัย รุจิณรงค์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2546
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : ยุทธศาสตร์น าไทยสู่สังคมโลก ของ สถานีโทรทัศน์ดาวเทียมแห่งแรก
ของไทย ( TGN. ) ศึกษาเฉพาะกรณี รายการและข่าว
โดย : พันเอก ชาญชัย รุจิณรงค์
สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก
(นรชัย วงษ์ดนตรี)
มิถุนายน ๒๕๔๘
จากการเปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคเกษตรกรรมสู่ยุคอุตสาหกรรม และมาถึงปัจจุบัน
คือ ยุคโลกาภิวัตน์ หรือยุคเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสาร (INFORMATION TECHNOLOGY)
สถานการณ์โลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้าน รัฐบาลปัจจุบันภายใต้การด าเนินงานของ
พ.ต.ท.ดร.ทกัษิณ ชินวตัร นายกรัฐมนตรีไดพ้ ยายามนา พาประเทศไทยอนั เป็นที่รักของเราท้งัหลาย
เขา้สู่สังคมโลกท้งัในดา้นเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการทหาร ให้ไทยสามารถแข่งขนั ในสังคม
โลกได้ จากนโยบายหรือยุทธศาสตร์ดังกล่าว ท าให้กองทัพบกโดยสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก
ที่มีหน่วยข้ึนตรง คือ ฝ่ายโทรทศัน์ดาวเทียม (ทด.ททบ.) พยายามน านโยบายดังกล่าว น าไทยสู่
สังคมโลกด้วยการสร้าง น า หรือพัฒนาประเทศตามแนวทาง และขีดความสามารถของอุปกรณ์
เครื่องมือ รวมท้งักา ลงังบประมาณที่สามารถสนบั สนุนได้
เนื่องจากการส่งสัญญาณโทรทัศน์ดังกล่าว มีผู้สามารถรับชมรายการและข่าวของทาง
สถานีไดม้ ากกว่า ๖,๐๐๐ ลา้นคน ดงัน้นั เพื่อปฏิบตัิตามนโยบาย ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีให้เกิดเป็น
รูปธรรมให้มากที่สุด กองทัพบกพยายามท าให้ “ยุทธศาสตร์น าไทยสู่สังคมโลก” ให้เป็นผลส าเร็จ
เป็นรูปธรรม กล่าวคือ การพยายามน าเสนอ รายการ และ ข่าว ให้น่าติดตามรับชม โดยการเผยแพร่
รายการและข่าวทางโทรทัศน์ดาวเทียม ให้น่าสนใจ ติดตามรับชมให้มากที่สุดเท่าที่จะกระท าได้
ผลจากการวิจยัน้นั จะมีข้อเสนอแนะต่าง ๆ ซึ่งเป็นข้อเสนอแนะซึ่งจะน าผลส าเร็จมาสู่
ทด.ททบ. โดยการพิจารณารายการและข่าวของสถานีโทรทัศน์ต่าง ๆ ช้นั นา ของประเทศไทย และ
ประเทศต่าง ๆ หรือส านักข่าวต่าง ๆ ทวั่ โลก มาเปรียบเทียบ โดยนา เอาผลของการส ารวจของบริษัทNIELSEN MEDIA RESEARCH (NMR.) ประเมินอีกคร้ัง และพยายามจดัรูปแบบของการนา เสนอ
รายการและข่าวของ ทด.ททบ. โดยมีสมมุติฐานว่ารูปแบบที่น่าจะได้รับความนิยมของผู้รับชมมาจาก
ผลการส ารวจ NMR. ดังกล่าว เป็นมาตรฐาน
เอกสารวิจยัน้ีเป็นการวิจยัเชิงพรรณนา โดยการศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์เอกสาร
ข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง การออกแบบสอบถาม และสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจน
ประสบการณ์จากการปฏิบัติงานในสถานีวิทยุโทรทัศน์ฯ ของ ผู้ท าเอกสารวิจัยด้วย
ผลจากการวิจัย พบว่า ทด.ททบ. มีรูปแบบการจดัที่มีการปฏิบตัิงานมีน้า หนักเป็นการ
ปฏิบัติงานแบบราชการมากกว่าการด าเนินงานทางธุรกิจ อีกท้งัการจดัลา ดบัความเร่งด่วนในการ
ด าเนินการการแกป้ ัญหายงัล่าชา้และมีการดา เนินงานในเชิงรับมากกว่าเชิงรุก อีกท้งัยงัขาดบุคลากร
ในการด าเนินงานอีกมาก ซึ่งจากโครงสร้างและการด าเนินงานดังกล่าวอาจจะเหมาะสมกับสถานการณ์
ในปีที่จดั ต้งั (๒๕๔๐) แต่ในปัจจุบนั (๒๕๔๘) หลายสิ่งเปลี่ยนแปลงไป ความทันสมัย หรือ
เทคโนโลยีและการแข่งขนั มีมากข้ึน มีความจา เป็นอย่างมากที่ ทด.ททบ. ต้องได้รับการปรับปรุง
แก้ไข เพื่อการแข่งขันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ “น าไทยสู่สังคมโลก” ไดอ้ย่างเป็นรูปธรรมมากข้ึน
กว่าในปัจจุบัน
ขอ้เสนอแนะจากการวิจยัในคร้ังน้ี กล่าวคือ เห็นควรให้ ททบ. น าเรื่อง “การปรับปรุง
ทด.ททบ. เพื่อการแข่งขัน” (ไม่ใช่เฉพาะ รายการและข่าว) เข้าสัมมนาของหน่วยข้ึนตรง ททบ.
อีกคร้ังและน าข้อเสนอแนะดังกล่าวมาปฏิบัติโดยจัดล าดับความเร่งด่วนสูง ในการแก้ปัญหาให้กับ
ทด.ททบ. เมื่อด าเนินการดังกล่าวแล้วเชื่อว่า “ยุทธศาสตร์ น าไทยสู่สังคมโลกของสถานีโทรทัศน์
ดาวเทียมแห่งแรกของไทย” จะเป็นที่ภูมิใจและกล่าวถึงของประชาชนชาวไทยท้งัที่อยู่ในประเทศ
และต่างประเทศ อีกนานแสนนาน
abstract:
ABSTRACT
Title : Window To The World From Thai TV Global
Network Education Reform, Case Study : Programs
and News
By : Col.Charnchai Rujinarong
Major Field : Sociopsychology
Research Advisor : Col.
( Norachai Wongdontri )
July 2005
According to social changes from agricultural to industrial age up to now
globalisation or information technology, the whole world has rapidly changed in
every aspect. The current government led by prime minister Thaksin Shinawatra has
tried to carry our loving Thailand to the international community regarding economic,
social, political and military areas. It is aimed to push Thailand into enabling its
competition in the global community. With this policy or strategy Royal Thai Army
represented by Royal Thai Army Radio and Television , which commands Thai TV
Global Network (TGN), has adopted the policy in order to take Thailand to the
international society by creating, leading and developing the country in accordance
with capability of equipment and budget available.
Considering the Network’s signal tranmission , there are more than 6
billion people being able to view its programs and news. Therefore, Royal Thai
Army has made an effort to offer programs and news via Thai TV Global Network to
be interesting and appealing as much as possible for most concrete accomplishment in
government’s “strategy to steer Thailand into the international community” policy.There has been recommendations as a result of the research that will bring
Thai TV Global Network a success. They can be done by comparing with programs
and news of leading televisions in Thailand and other countries or worldwide news
agencies. Then the Nielsen Media Research (NMR) ‘s survey results are evaluated
again. After that the TGN ‘s programs and news presentation style has been arranged
on the assumption that the style,which is likely to be popular among audiences , is
based on the NMR’s survey results.
This research paper is a descriptive research by studying, gathering and
analysing information on related documents. Besides, questionaires, interview those
concerned and research paper owner’s working experience with Royal Thai Army
Radio and Television are also included.
The research results show that TGN’s operational presentation style is
inclined to be more bureaucratic than commercial. It is also slowly in terms of solving
the problem and action priorities. There has been more passive way in operation
including lack of many personnels. These structures and procedures could be
appropriate in the situation at the time when it was established(1997). However the
situation at present (2005) has changed with more competitions and technologies. So
it is fully necessary that TGN needs improvement for competition and more concrete
achievement in strategy to steer Thailand into global community than now.
The recommendations on the research are Royal Thai Army Radio and
Television should repeatedly raise TGN improvement for competition issue(beyond
programs and news) to The seminar of Royal Thai Army Radio and Television’s
under bureaus ,implementing the recommendations and giving solution priorities to
TGN. Once completed, it is believed that Thailand first satellite broadcaster’s
“strategy to steer Thailand into the international community” is proudly mentioned by
Thai people in their country and those abroad for long.