Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาของข้าราชการ ศึกษาเฉพาะกรณี : ข้าราชการกรมการสนเทศทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ชัยนิตย์ ศรีสถิตย์ธรรม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2546
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาของข้าราชการ : ศึกษาเฉพาะกรณีข้าราชการกรมการสนเทศทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด โดย : พันเอก ชัยนิตย์ ศรีสถิตย์ธรรม สาขาวิชา : สังคมจิตวิทยา กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : พันเอก (นรชิต ตันศิริ) มิถุนายน ๒๕๔๘ การศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาของ ข้ า ร า ช ก า ร ก ร ม ก า ร ส น เ ท ศ ท ห า ร ก อ ง บั ญ ช า ก า ร ท ห า ร สู ง สุ ด เพื่อศึกษาปริ มาณความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนา ในช่วงต่าง ๆ ของแต่ละปัจจัย แ ล ะ ผ ล ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ป ริ ม า ณ ค ว า ม เชื่ อ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ บั ติ ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า ตลอดจนแสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนา ลั ก ษ ณ ะ ส า คั ญ ข อ ง ช า ว พุ ท ธ จะประกอบด้วยความเชื่อทางพุทธศาสนาและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาไปพร้อมกัน ความเชื่อทางพุทธศาสนาในที่น้ีจะกล่าวครอบคลุมในข้ันต้นและข้ันสูง นั่นคือ เชื่ อ เรื่ อ ง ไ ต ร ส ร ณ ค ม คื อ พ ร ะ พุ ท ธ พ ร ะ ธ ร ร ม พ ร ะ ส งฆ์ เชื่ อ ก ฎ แ ห่ งก ร ร ม ว่ า ทา ดีได้ดีท าชั่วได้ชั่ว และการส่งผลของกรรมดีกรรมชั่วน้ัน เชื่อในนิพพานว่ามีจริง เป็ นต้น ส่วนการปฏิบตัิทางพุทธศาสนา เป็นการปฏิบตัิทางศาสนาที่ส าคญั เบ้ืองต้น ๓ ประการคือ ทาน หมายถึงการให้การสละเอ้ือเฟ้ือเผอื่ แผ่ประการที่สองคือศีล หมายถึงการกระทา ที่ไม่เบียดเบียน ต น เอ ง แ ล ะ ผู้ อื่ น ไ ด้ แ ก่ ศี ล ๕ ข้ อ เป็ น ต้ น ป ร ะ ก า ร ที่ ส า ม คื อ ภ า ว น า เป็ น ก า ร ฝึ ก จิ ต ใ จ ต น เอ ง ใ ห้ เกิ ด ปั ญ ญ า เพื่ อ ใ ห้ เกิ ด ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใ จ และเห็นแจง้ในสิ่งท้งัหลายตามที่เป็นจริง ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า พ บ ว่ า ค ว า ม ต่ า ง กั น ร ะ ห ว่ า ง เพ ศ ช า ย กั บ เพ ศ ห ญิ ง ไม่ เป็ น ผ ล ใ ห้ เกิ ด ค ว าม แ ต ก ต่ างใ น เรื่ อ งค ว าม เชื่ อ แ ล ะก าร ป ฏิ บั ติ ท างพุ ท ธ ศ าส น า ปัจจัยอายุในช่วงแรก คือ อายุไม่เกิน ๒๕ ปี มีแนวโน้มความเชื่อสูงกว่าช่วงที่มีอายุมากข้ึน ส่ วนการปฏิบัติทางพุทธศาสนาอยู่ในเกณฑ์สู งเหมือนกัน และความแตกต่างของอายุ ไ ม่ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ค ว า ม เ ชื่ อ แ ล ะ การปฏิบัติทางพุทธศาสนา ปัจจัยการศึกษาเมื่อเปรียบเทียบระหว่างการศึกษาต ่ากว่าปริญญาตรี กับปริ ญญาตรี และสู งกว่า มีปริ มาณความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาเหมือนกัน ความแตกต่างของการศึกษาไม่มีผลให้เกิดความแตกต่างของความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาส นา ปัจจัยรายได้ที่แตกต่างกัน มีปริมาณความเชื่อและการปฏิบัติทางพุทธศาสนาไม่แตกต่างกัน จากจ านวน ๔ ปัจจัยข้างต้น ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา และรายได้ เมื่อน ามาวิเคราะห์สรุปได้ว่า ข้าราชการกรมการสนเทศทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด มีความเชื่อและการปฏิบัติทาง พุ ท ธ ศ า ส น า ไ ป ใ น ทิ ศ ท า ง เ ดี ย ว กั น ไม่เป็นอุปสรรคในการพัฒนาคนและองค์การให้ไปสู่จุดหมายเดียวกันได้

abstract:

ไม่มี