เรื่อง: การจัดระเบียบเรือในลำแม่น้ำโขง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, น.อ. จักรกฤษณ์ กลีบจันทร์ ร.น.
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2546
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การจดัระเบียบเรือในลา แม่น้า โขง
โดย : นาวาเอก จักรกฤษณ์ กลีบจันทร์
สาขาวิชา : การทหาร
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก
( วิทยา วิชัยดิษฐ)
มิถุนายน ๒๕๔๘
แม่น้ าโขง ซึ่งเป็นเขตแดนระหว่าง ไทย และลาว มีปัญหาที่กระทบต่อความมนั่ คงของ
ชาติหลายประการ ส่วนหนึ่งมีสาเหตุเนื่องมาจากการใช้เรือในลา แม่น้า โขงของราษฎรท้งัสองฝั่ง
ที่อาจจะมีการลักลอบน าเรือไปใช้ในการกระท าผิดกฎหมาย และจากการที่ขาดการควบคุม อย่าง
มีประสิทธิภาพ ท าให้การปฏิบัติในด้านการป้องกัน การลักลอบน ายาเสพติดเข้าประเทศและการ
รักษาความมั่นคงของชาติตามแนวชายแดนไม่สามารถกระท าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ จึง
จ าเป็ นต้องหาวิธีการในการบริหารจัดการที่เหมาะสม ดังน้ันในการวิจัยจึงมีวตัถุประสงค์เพื่อ
ศึกษาปัญหาส าคัญของสถานการณ์และสิ่งแวดลอ้ มในการใช้เรือในลา แม่น้ าโขง ประกอบกับ
การศึกษาแนวโน้มของการกระท าผิดกฎหมาย จากการใช้เรือของราษฎร ที่ส่งผลกระทบต่อการ
รักษาความมนั่ คงของชาติว่ามีความสอดคล้องเกี่ยวเนื่องกันอย่างไร และเสนอแนะแนวทางใน
การ จัดระเบียบเรือในลา แม่น้ าโขง ด้วยวิธีด าเนินการวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research)
โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เป็ นข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) ร่วมกับ
การศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) และการค้นคว้าเอกสารรายงานทางสถิติของทาง
ราชการเป็น ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources) โดยผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบการน าเสนอข้อมูลในเชิง
แบบพรรณนาและวิเคราะห์ (Descriptive and Analytical Approaches) สรุปเป็นผลของการวิจัยผลที่ได้รับจากการวิจัย สรุปได้ว่ามูลเหตุของปัญหาที่มีผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อย
และความมั่นคงของชาติตามลา แม่น้ าโขง มีองค์ประกอบที่ส าคญั อย่างหน่ึงคือ การใช้เรือของ
ราษฎรในลา แม่น้า โขง ที่ขาดการควบคุมอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ดังน้นัการแกป้ ัญหา
คือจะตอ้งมีการจัดระเบียบเรือในลา แม่น้า โขง ที่สนบั สนุนสมมติฐานที่ได้ต้งัไว้โดยน าไปสู่การ
ก าหนดกรอบ การบริหารจัดการ และแนวทางการด าเนินการ ดงัน้ี
๑. การบริหารจดัการในการจดัระเบียบเรือในลา แม่น้ าโขงจะตอ้งเป็นแบบบูรณาการ ท้งั
ในระดับภาค และระดับจังหวัด
๒. แนวทางการด าเนินการจัดระเบียบเรือในลา แม่น้ าโขง สามารถกา หนดเป็นข้นั ตอน
การปฏิบตัิได้๔ ข้นั ดงัน้ี
ก. จัดเจ้าหน้าที่เข้าส ารวจข้อมูลและวิเคราะห์ขอ้ มูลในพ้ืนที่เป้าหมาย พร้อมท้ัง
ประสานงานในพ้ืนที่ประชาสัมพนัธ์และปฏิบตัิการจิตวิทยาต่อหมู่บา้นเป้าหมาย
ข.จัดการประชุมแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้างกลุ่มสนใจ กลุ่มกิจกรรมข้นั ตน้ คน้ หาผูน้ า
ธรรมชาติ มุ่งให้เกิดความไว้วางใจและความเชื่อมนั่ ของประชาชนต่อการด าเนินการจัดระเบียบเรือ
ในลา แม่น้า โขง
ค.จัดการประชุมแบบมีส่วนร่วม เพื่อการด าเนินการจัดระเบียบเรือในลา แม่น้า โขง
และการแก้ปัญหาอื่น ๆ
ง.การติดตามผล และด ารงความต่อเนื่องของจดัระเบียบเรือในลา แม่น้า โขง
abstract:
ABSTRACT
Title : Order of Vessels in The Mekhong River
By : Captain Jakkit Klebchan
Major Field : Military
Research Advisor : Captain
( Vithaya Vichaidist )
June 2005
Mekhong River, the natural border between Thailand and Lao PDR, cause
number of effects for national security. One of them is the use of vessel in this river
that the people of both countries could use their small boat to violate the law.
Furthermore, without efficiency controlling may reduce the effectiveness of antinarcotic operation and internal security defense. It is the must to find out the suitability
method for handling such problem. This research ‘s objective is the studying the
situation and the environment of the vessel using in Mekhong River and to study the
tendency of this problem, which may be effected or related with the National Security.
The research is also studied and proposed the approaching of using vessel in Mekhong
River order.
This descriptive and analytical research methodology’s primary sources are
collecting data from oral interview with documentary research and official statistic
reports as secondary sources. Since analyzing all data, come to the result of research. It
could be summarized as the proposal hypothesis, the ordering the vessel using in
Mekhong River. This could solve the problem by systematical and efficiency controlling and designated the framework and approach of management as the
following.
1. Integrate the Regional (Northeastern) and Provincial level of Using Vessel in
Mekhong River Order.
2. The Approach of Using Vessel in Mekhong River Order Management has 4
Phase.
a. Data survey and analyze in objective area along with coordination,
information, and psychological.
b. Participation meeting to build up the interest group, activity group,
natural leader finding which may make accountability and trust from local people for
the Order.
3. Participation meeting to set up the Using Vessel in Mekhong River Order
and other problem solving.
4. Evaluation and Continuance of the Using Vessel in Mekhong River Order.