Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาของอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในภาคเอกชน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
ไม่ระบุ/not specified
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. จักรกริช จันทร์มะ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
ปีที่พิมพ์:
2546
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ชื่อเรื่อง : การพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในภาคเอกชน โดย : พันเอก จักรกริช จันเทร์มะ สาขาวิชา : การเศรษฐกิจ กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก ( จิระศักดิ์ เรืองจวง ) มิถุนายน ๒๕๔๘ กระทรวงกลาโหมมีความจา เป็นอย่างยิ่ง ที่ตอ้งพฒั นาอุตสาหกรรมป้องกนั ประเทศให้ มีประสิทธิภาพ ท้งัน้ีก็เพื่อความพร้อมในการป้องกนั ประเทศ และรักษาผลประโยชน์ของชาติไว้ จึงได้มีนโยบายพึ่งพาตนเองในด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศโดยได้ส่งเสริมให้ภาคเอกชนมี ส่วนร่วมในการผลิตยุทธปัจจัยใช้ในกองทัพ ดังน้ัน การส่งเสริมให้ภาคเอกชนดา เนินกิจการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจึงมีความส าคัญอย่างมาก การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์กิจการและการพัฒนาอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศภาคเอกชน กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศ ศึกษาแนวทางด าเนินกิจการอุตสาหกรรมน้ีของต่างประเทศ และเพื่อเสนอแนะ แนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศของภาคเอกชน ส ำหรับสมมติฐำนของกำรวิจัยคือ กระทรวงกลำโหมจะต้องมีนโยบำยที่แน่นอนและ ต่อเนื่อง เพื่อจะส่งเสริมให้อุตสำหกรรมป้องกันประเทศในภำคเอกชนมีกำรพัฒนำ จนถึงข้นั สำมำรถพึ่งพำตนเองท้งัในภำวะปกติและภำวะสงครำม ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้ก าหนดขอบเขตการศึกษาเฉพาะอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ ของภาคเอกชนที่ได้รับอนุญาตให้ผลิตอาวุธ ตามคา สั่งคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน ฉบบั ที่ ๓๗ ลง ๒๑ ตุลาคม ๒๕๑๙ เท่าน้นั ไม่ไดค้รอบคลุมถึงภาคเอกชนที่ดา เนินการผลิตยุทธภณั ฑ์ ตาม พ.ร.บ. ควบคุมยุทธภัณฑ์ พ.ศ. ๒๕๓๐ และภาคเอกชนที่ร่วมโครงการกับส านักงาน คณะกรรมการอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ การวิจัยคร้ังน้ีเป็ นการวิจัยเชิ งพ รรณ นาโด ยศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจาก แนวความคิด ทฤษฎี และผลงานการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมป้องกันประเทศใน ภาคเอกชน และรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ซึ่งเป็ นการรวบรวม ความคิดเห็นจากผู้บริหารบริษัทเอกชนที่ได้รับอนุญาตให้ผลิตอาวุธ และข้าราชการในสายงาน อุตสาหกรรมป้องกันประเทศ เมื่อได้รวบรวม ศึกษา และเรียบเรียงเอกสารต่าง ๆ ดังกล่าวข้างต้น แลว้จะนา ขอ้ มูลที่ไดร้วมท้งัประสบการณ์ของผูว้ิจัยซ่ึงได้ปฏิบตัิงานในดา้นอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศมาเป็ นเวลานาน มาพิจารณา ศึกษา วิเคราะห์หาแนวทางในการพัฒนาอุตสาหกรรม ป้องกันประเทศในภาคเอกชน ผลจากการวิจัยพบว่าปัจจัยต่าง ๆ ท้ังของภาครัฐและเอกชนที่มีผลกระทบต่อการ พัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศในภาคเอกชน ได้แก่ นโยบายกิจการอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศ กฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ เป็ นข้อจ ากัดในด้านความคล่องตัวในการ ด าเนินงานของภาคเอกชน ทัศนคติ มุมมองระหว่างภาครัฐและเอกชน ยังไม่มองภาพของ ผลประโยชน์ของชาติเป็ นส่วนรวม และตลาดในส่วนของเหล่าทัพและต ารวจมีจ านวนน้อย ไม่ แน่นอน มีผลกระทบต่อการลงทุนของภาคเอกชน แนวคิดที่จะพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศภาคเอกชน คือ การด าเนินการ ร่วมกันระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยตอ้งพิจารณาคา นึงถึงความตอ้งการพ้ืนฐานของภาครัฐ และภาคเอกชนเป็ นหลัก การวิจัยคร้ังน้ีได้เสนอขอ้ เสนอแนะในการพฒั นาอุตสาหกรรมป้องกัน ประเทศในภาคเอกชน จากแนวคิดดังกล่าวดังน้ี ควรกา หนดนโยบายให้มีความชัดเจนต่อเนื่อง ควรมีการปรับปรุงแก้ไข กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ โดยเฉพาะค าสั่งคณะปฏิรูปการ ปกครองแผ่นดิน ฉบับที่ ๓๗ เหล่าทัพควรพิจารณาจัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์จากผู้ผลิตในประเทศ เป็ นอันดับแรก รัฐควรก าหนดมาตรการส่งเสริมการลงทุน ตลอดจนการให้สิทธิพิเศษกับ ภาคเอกชน การพิจารณารวมกลุ่มของภาคเอกชนในลักษณะของนิคมอุตสาหกรรม เพื่อสะดวก ต่อการส่งเสริมและควบคุมโดยภาครัฐและการปรับทศั นคติของท้งัภาครัฐและภาคเอกชน โดย เปลี่ยนบทบาทของภาครัฐจากการควบคุมตรวจสอบ มาเป็นการให้การสนับสนุนเกื้อกูล และปรับ บทบาทของภาคเอกชน จากผู้ร้องขอมาเป็นผู้ร่วมก าหนดกลยุทธ์ แสวงหาหนทางปฏิบัติ

abstract:

ไม่มี