เรื่อง: แนวทางการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของ กองบัญชาการทหารสูงสุด ภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. คัมภีร์ พงษ์วิชัย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2546
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : แนวทางการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของ
กองบัญชาการทหารสูงสุด ภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
โดย : พันเอกคัมภีร์ พงษ์วิชัย
สาขาวิชา : การทหาร
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
( จิระศักดิ์ เรืองจวง )
มิถุนายน ๒๕๔๘
การวิจยัน้ีมีวตัถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิด และหลกัการ ของระบบ และวิธีการ
งบประมาณในระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ภายใต้กระบวนทัศน์ใหม่
ปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙ โดยศึกษาเปรียบเทียบกับการจัดท างบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตาม
ยุทธศาสตร์ตามกระบวนทัศน์ใหม่ของกองบัญชาการทหารสูงสุดในปี งบประมาณปัจจุบัน (พ.ศ.
๒๕๔๘) และหาแนวทางที่เหมาะสมในการเตรียมการจัดท างบประมาณของกองบัญชาการทหาร
สูงสุดในอนาคต
วิธีด าเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยแบบพรรณนา โดยการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร
และผลงานทางวิชาการที่เกี่ยวข้องด้านการงบประมาณ มาตรวจสอบ ศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ
การจัดท างบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์กับการจัดการงบประมาณภายใต้กระบวน
ทัศน์ใหม่ เพื่อหาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เหมาะสมกับกองบัญชาการทหารสูงสุด
ผลการวิจัยพบว่า การปรับประบวนทัศน์ใหม่ ในการจัดการงบประมาณ
ปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ระบบงบประมาณเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน
นโยบายรัฐบาล โดยครอบคลุมมิติยุทธศาสตร์ ๓ มิติ คือ ยุทธศาสตร์กระทรวง นโยบายเฉพาะเรื่อง
และยุทธศาสตร์พ้ืนที่ เมื่อเปรียบเทียบกับการจัดท างบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๘ แล้ว
พบว่าแนวทางการจัดท างบประมาณในปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙ ได้ปรับเปลี่ยนแปลงแนวทางและกระบวนการจัดท างบประมาณซึ่งมีความแตกต่างจากเดิม เนื่องจากพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ ก าหนดให้รัฐบาลต้องจัดท าแผน
บริหารราชการแผ่นดิน และ กระทรวงกลาโหมต้องจัดท าแผนปฏิบัติราชการกระทรวง ๔ ปี ในการ
จัดท าค าของงบประมาณรายจ่ายประจ าปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๙ กองบัญชาการทหารสูงสุด ได้
ปรับข้นั ตอนการปฏิบตัิที่ชัดเจนข้ึน สามารถ ลดระยะเวลาการจัดท า เพิ่มระยะเวลาการวางแผน
และเตรียมการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจดัการงบประมาณมากข้ึน ท้งัน้ีรองนายกรัฐมนตรี/
รัฐมนตรีที่รับผิดชอบ ได้มอบหมายนโยบาย และก ากับดูแลในทุกข้ันตอน ท าให้การจัดสรร
งบประมาณของ กองบัญชาการทหารสูงสุด บรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์การจัดสรร เป้าหมายการ
ให้บริการกระทรวงกลาโหม และยุทธศาสตร์กระทรวงกลาโหมได้อย่างแท้จริง
ข้อเสนอแนะของการวิจัย ได้แก่การปรับปรุงตัวช้ีวัดผลการด าเนินงานของ
กองบัญชาการทหารสูงสุด ให้สามารถวัดผลส าเร็จได้อย่างเป็ นรูปธรรม การปรับปรุงค่าใช้จ่าย
ผลผลิตให้สะท้อนค่าใช้จ่ายที่แท้จริง โดยการรวบรวมค่าใช้จ่ายท้งัหมดที่ใช้ในการจัดท าผลผลิต
ครอบคลุมเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ การปรับปรุงระบบการวางแผน การจัดท าและ
บริหารงบประมาณ รวมท้งัการพฒั นาฐานขอ้มูลทางการเงินการคลัง เพื่อรองรับการพัฒนาระบบ
การจัดการงบประมาณของ กองบัญชาการทหารสูงสุด ต่อไปABSTRACT
Title : The New Strategic Performance Based Budgeting
Management Paradigm of the Supreme Command
Headquarter
BY : Colonel Kumpee Pongvichai
Major Field : Military Science
Research Advisor : Group Captain
( Jirasak Ruangjuang)
June 2005
The purpose of this study was to explore the new paradigm of the strategic
performance budgeting employed in the fiscal year 2006. The existing budget system
employed by the the Supreme Command Headquarter for the fiscal year 2005 was
evaluated. Recommendations on appropriate budget preparation process consistent
with the new management paradigm are also included in the study.
The research methodology in this study was mainly descriptive by
reviewing the literature and government documents on budgeting. The comparative
analysis between existing performance budgeting and new budget management
paradigm was used in order to gain insights and suggestions appropriate for the
Supreme Command Headquarter
One of the findings is that the main objective of employing the new budget
management paradigm in the fiscal year 2006 is to develop the government budget as a
tool for policy implementation based on functional, agenda, and area approaches In comparison of the budget performance in the fiscal year 2005, the budget performance
in the the fiscal year 2006 is changed the budget performance process because of the
royal decree of standard and management procedure in Year 2003,Good governance
royal decree assign the government to do the Official Nation Plan and the Ministry of
Defense has to do the Ministry Official Plan ( 4 years ) and Annual Official Plan.
Another finding is that the budget request process of the Supreme
Command Headquarter for the fiscal year 2005 is improved in many ways. The
overall time period for budget request is shortened while that for budget planning is
extended longer. In addition, the Deputy Prime Minister and Minister responsible for
the Supreme Command Headquarter have closely monitored the ongoing budget
process. As a result, the budget appropriation for the Supreme Command Headquarter
is expected to produce favorable outcomes, specifically the strategic targets and
service delivery targets of the Ministry of Defense.
It is recommended that the Supreme Command Headquarter develop the
followings:
(1) more concrete performance indicators,
(2) an output-costing method that represents real costs and extra budgetary
funding, and
(3) better budget planning, preparation and execution, and financial
database that eventually lead to an implementation of e-Budgeting in the future.
abstract:
ไม่มี