เรื่อง: ผลกระทบต่อข้าราชการทหาร – ตำรวจ ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. คณิต อุทิตสาร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2546
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : ผลกระทบต่อข้าราชการทหาร ต ารวจที่ปฏิบัติหน้าที่เป็ นคณะกรรมการ
การเลือกต้งัจงัหวดัศึกษาเฉพาะกรณีขา้ราชการทหาร ตา รวจ ประจา การ
โดย : พันเอกคณิต อุทิตสาร
สาขาวิชา : การเมือง
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาอากาศเอก
(กฤษณะ นิ่มวฒั นา)
มิถุนายน ๒๕๔๘
ประเทศไทยปกครองในระบอบประชาธิปไตยมาต้งัแต่๒๔๗๕ แต่การพฒั นาเป็นไป
อย่างล่าช้าและมีอุปสรรคมากมาย เหตุส าคัญเพราะการเป็ นประชาธิปไตยของไทย เกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของการปกครองจากรูปแบบหนึ่งเป็นอีกรูปแบบ หนึ่ง เท่าน้นั มิได้
เกิดจากจิตวิญญาณ และความรู้ความเข้าใจของปัจเจกชนในระดับต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งระดับล่าง
การเป็ นประชาธิปไตยของไทยเกิดจากการน าของกลุ่มคนเล็ก ๆ ซ่ึงเป็นชนช้ันน า ( Elite) ของ
สังคม ดังน้ันจึงเกิดค าว่าประชาธิปไตยแบบไทย ๆ ให้ได้ยินเสมอ รัฐบาลขาดเสถียรภาพ
เพราะการเลือกต้งัมีการซื้อสิทธ์ิขายเสียง มีการปฏิวตัิยุบสภา ฉีกรัฐธรรมนูญ หลายคร้ังเพราะ
การเมืองไม่พัฒนานักการเมืองไม่มีคุณภาพ ประชาชนขาดความเข้าใจ ภาคประชาสังคมไม่ได้เข้า
มามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง ส่งผลต่อความทุกข์ยากของประชาชนและเป็ นอุปสรรคส าคัญต่อการ
พัฒนาประเทศ จึงเป็นกระแสหลักส่งผลให้มีการร่างรัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐ ซึ่งเป็ นรัฐธรรมนูญที่มุ่ง
คานอ านาจการบริหาร มุ่งการตรวจสอบ มุ่ง การมีส่วนร่วม ของประชาชนและค านึงการคุ้มครอง
สิทธิของประชาชนเป็ นส าคัญ รัฐธรรมนูญฉบบั น้ีมีองค์กรอิสระเกิดข้ึนหลายองคก์ร กกต. เป็ น
อีกองคก์รหน่ึงที่มีหน้าที่ควบคุมและจดัการการเลือกต้งัทวั่ ประเทศให้บริสุทธ์ิยุติธรรม ซ่ึงขา้ราชการ
ทหารและต ารวจก็สามารถสมัครเข้ามาเป็น กกต. ในระดับต่าง ๆ ได้ ในขณะที่กกต.พึ่งเป็นองค์กร
เกิดใหม่ การทา งานเกี่ยวกับการเลือกต้งัพบปัญหาอุปสรรคมากมาย ขา้ราชการทหาร ต ารวจ ส่วนหนึ่ง ที่มีโอกาสเข้าไปเป็ น กกต. ในระดับต่าง ๆ บางคนขาดข้อมูลในการศึกษาท าให้เกิดผล
กระทบต่อตนเองท้ังทางบวกและทางลบอย่างมากมาย จึงเป็นเหตุผลส าคัญของการศึกษาถึงผล
กระทบต่อข้าราชการ ทหาร-ต ารวจ ที่เป็ น กกต.จว. เพราะตราบใดที่ยงัใช้รัฐธรรมนูญฉบบั น้ีอยู่
การที่ข้าราชการของกองทัพไทย รวมท้งัตา รวจจะสมคัรเขา้มาเป็น กกต.จว. หรือ กกต. ในระดับ
ต่าง ๆ ก็ยงัมีอยู่ และหากไม่มีขอ้มูลให้ศึกษาปัญหาที่เกิดข้ึนก็จะเป็นผลกระทบต่อ ๆไป การวิจัย
คร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์หลกั เพื่อศึกษาหาผลกระทบต่อข้าราชการทหาร-ต ารวจประจ าการที่เป็ น
กกต.จว.ทั่วประเทศ เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่ได้เป็นกกต.จว .และเพื่อเป็นข้อมูลส าหรับ
ข้าราชการทหาร- ต ารวจประจ าการ ที่จะสมัครเป็ น กกต.จว. ในอนาคต โดยต้งัสมมุติฐานการ
วิจัยว่า ความพึงพอใจในการเป็ น กกต.จว. มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจที่อยากเป็ น กกต.จว.
แรงจูงใจที่อยากเป็ น กกต.จว. มีความสัมพันธ์กับเกียรติภูมิของการเป็ น กกต.จว. และเกียรติภูมิ
ของการเป็น กกต.จว. มีความสัมพันธ์กับการได้รับการส่งเสริมจากตันสังกัด โดยท าการวิจัยใน
เชิงปริมาณ ผลที่ได้จาการวิจัย ท าให้ทราบว่า ข้าราชการทหาร – ต ารวจ ที่เป็น กกต.จว. มีความ
ภาคภูมิใจในเกียรติภูมิของการเป็ น กกต.จว. เพราะได้รับเกียรติจากส่วนราชการและประชาชน
แต่ในทางตรงข้ามผู้บังคับบัญชาต้นสังกัดไม่ให้การยอมรับ โดยไม่ได้น าการปฏิบัติหน้าที่ กกต.จว.
มาพิจารณาปูนบา เหน็จประจา ปี ท้งัยงัไม่ได้เป็นการส่งเสริมต่อการรับราชการแต่อย่างใด ส่วน
แรงจูงใจที่อยากเป็ น กกต.จว. เพราะต้องการใช้ความรู้ความสามารถของตนให้เป็ นประโยชน์ต่อ
สังคมโดยไม่มีแนวคิดที่จะเล่นการเมืองในอนาคต นอกจากน้ียงัมองว่าการเป็น กกต.จว. มี
ภาระหน้าที่และความรับผิดชอบสูงแต่การพิจารณามอบเครื่องราชอิสริยาภรณ์ จาก กกต.กลาง ยัง
ไม่เหมาะกับภาระงานดังกล่าว อย่างไรก็ตามทหาร – ต ารวจ ที่เป็น กกต.จว. ก็ยังมีความพึงพอใจ
เพราะนับเป็นเกียรติประวัติอันสูงยิ่งของบุคคลที่แสดงถึงความซื่อสัตย์สุจริต มีความรู้
ความสามารถและเป็นกลางทางการเมือง จนเป็นที่ยอมรับของสังคมในจังหวัดน้ัน ๆ
ข้อเสนอแนะส าหรับทหาร – ต ารวจ ที่ต้องการเป็ น กกต.จว. ต้องศึกษาข้อมูลผลกระทบท้ัง
ทางบวกและลบให้ดีโดยเฉพาะอย่างยิ่งท่าทีของผูบ้ งัคบั บญั ชาต้นสังกัด ซึ่งจะมีผลต่อแนวทางรับ
ราชการท้งับวกและลบได้เช่นกัน และหากต้องการเพียงเพื่อการศึกษา การเป็ นกกต.ระดับ
ท้องถิ่นซ่ึงมีวาระส้ัน ๆ ๒-๓ เดือน ก็เป็นอีกทางเลือกหน่ึง สิ่งที่ควรท าการวิจัยต่อไปใน
อนาคตคือกลุ่มข้าราชการทหาร ต ารวจที่เกษียณอายุราชการ แล้วอยากเป็ น กกต.จว มีประเด็นที่
น่าศึกษาหลายด้าน เนื่องจาก ทหาร - ต ารวจ ที่ยังรับราชการอยู่ในปัจจุบันต่อไปก็ต้องเกษียณอายุ
ราชการกันทุกคน หากอยากสมัครเป็ น กกต.จว. บ้างจะได้มีข้อมูลที่ถูกต้องส าหรับในการ
ตัดสินใจ.
abstract:
ABSTRACT
Title : The effect of being Provincial Election Committee member –
Case study in military and police personnel
By : Colonel Kanit Uthitsarn
Major Field : Politics
Research Advisor: Group Captain
( Krishna Nimwattana )
June 2005
Thailand has been in democratic system since 1932. However, the
democratic development process progresses very slowly due to the fact that Thai
democratic system is based only on structural change, not the ideological change.
Thai democracy originated from a small group of people – elite group. Therefore, we
would regularly overhear the term "democracy in Thai style," meaning that the
governmental system lacked stability. Vote buying and selling were still
uncontrollable. Parliament dissolving and military coup were common. Most of the
people, middle class and lower class, were lacking in understanding and
participation. An attempt to correct the mentioned problems results in the 1997
Constitution which focuses on balance of power, transparency, and people
participation. According to this new constitution, many new non-governmental
organizations have been formed. The Election Committee is one of them. The
purpose of Election Committee is to ensure fairness and justice in election at all level.
Military and police personnel are allowed to participate and be a part of this committee.
Being a brand new organization, members of the Election Committee have to encounter
various difficulties. To alleviate such problems, there should be a knowledge base for
the newcomers to study. As a result, this research is conducted in order to collect and
analyze all information concerning the effect of being a member of Provincial Election
Committee focusing on the effect to military and police personnel. The main purpose of this research is to study the effect and satisfaction of active duty military and police
personnel around the country who are members of Provincial Election Committee.
This research is qualitative basing on the hypothesis that satisfaction level of being
a Provincial Election Committee member is directly related to its motive; the motive is
directly related to the dignity; and the dignity is directly related to the support from
original units. From the research result, we found that being a Provincial Election
Committee member makes military and police personnel proud due to well acceptance
from local people and concerned agencies. Commanding officers from his original
unit, on the other hand, do not entirely support his role. In fact, being a Provincial
Election Committee member does not count toward the official annual merit
considerations. In addition, all members have the right to receive royal decorations,
but the distribution process from the central Election Committee is again unfair.
Therefore, it is highly recommended that all military and police personnel looking
forward to becoming a member of Provincial Election Committee should thoroughly
study both positive and negative effects before making a decision. Finally, there is
still plenty of room for future research in this area, especially focusing on the retired
group of military and police personnel.