เรื่อง: ปัญหาด้านวินัยทหารกับกำลังพลกองบัญชาการทหารสูงสุด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
ไม่ระบุ/not specified
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร, พ.อ. ไกพัล แก้วประพาฬ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2546
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
เปิดเผยเฉพาะบางส่วน (ไม่เปิดเผยเนื้อหา)
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : ปัญหาด้านวินัยทหารกับก าลังพลกองบัญชาการทหารสูงสุด
โดย : พันเอก ไกพัล แก้วประพาฬ
สาขาวิชา : การทหาร
กรรมการที่ปรึกษาเอกสารวิจัย : นาวาเอก
(คชวัทน์ ประสานนิล)
มิถุนายน ๒๕๔๘
ปัญหาด้านวินัยทหารกับก าลังพลกองบัญชาการทหารสูงสุด เป็ นเรื่องที่เกี่ยวข้อง
กับการจะท าให้ก าลังพลมีวินัยที่ดีซ่ึงนับว่าเป็นสิ่งส าคญั อย่างยิ่ง เพราะจะส่งผลถึงการปฏิบัติ
ภารกิจอย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของกา ลงัพล ดังน้ันการให้ความรู้ทางด้านวินัยทหารและ
จริยธรรมแก่ก าลังพลอย่างเหมาะสม โดยเน้นปลูกจิตส านึกของก าลังพลและการฝึ กอบรมภายใต้
การกา กบั ดูลอย่างเอาใจใส่ของผูบ้ งัคบั บญั ชาทุกระดับช้ัน ตลอดจนติดตามดูแลอย่างใกลช้ิด มีการ
ลงโทษอย่างยุติธรรมและมีการติดตามตรวจสอบและประเมินผลในการฝึ กอบรมอย่างต่อเนื่อง
ตลอดจนปรับปรุงแนวทางการลงทัณฑ์ให้กว้างขวาง ครอบคลุม สามารถที่จะท าให้ก าลังพลของ
กองบัญชาการทหารสูงสุด มีวินัยที่ดีข้ึนได้การด าเนินการวินัยในคร้ังน้ีเป็นการวิจัยโดยอาศัย
เอกสารของทางราชการ ต าราวิชาการและวิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนบทสัมภาษณ์จาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านกฎหมาย และการปกครองจากกลุ่มนายทหารสัญญาบัตร และนายทหารช้ัน
ประทวนแล้วน าขอ้ มูลมาวิเคราะห์ตามสมมติฐานที่ต้ังไวว้่า ซ่ึงสามารถสรุปผลได้ดังน้ีการให้
ความรู้ด้านวินัยทหารและจริยธรรม, แบบธรรมเนียมของทหารที่ถูกต้องเป็นเพียงส่วนหนึ่ง ในการ
ที่จะให้ก าลังพลของกองบัญชาการทหารสูงสุด มีวินัยที่ดีข้ึนแต่ตอ้งทา ควบคู่ไปพร้อมกับการกา กับ
ดูแล เอาใจใส่อย่างใกล้ชิดของผู้บังคับบัญชาทุกระดับช้ัน การประพฤติตนเป็นตัวอย่างของ
ผู้บังคับบญั ชาทุกระดบั ช้ันอย่างสม่า เสมอต่อเนื่องและเขม้งวด ซ่ึงต้องใช้ระยะเวลาพอสมควรในการ
ปลูกฝังจิตส านึกของความมีวินัยให้เกิดข้ึน ส าหรับมาตรฐานการลงโทษที่ดีน้ัน จะก่อให้เกิดความยุติธรรม โปร่งใส เป็ นเครื่องมือในการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชา และช่วยให้การบริหารเวลา
ของผูบ้ งัคบั บญั ชาในการปฏิบตัิงานเพิ่มมากข้ึน
โดยผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้เน้นถึงการปลูกฝังจิตส านึกของก าลังพลทางด้านวินัยทหาร
แบบธรรมเนียมของทหาร และจริยธรรมให้มากข้ึน ตลอดจนให้ผู้บังคับบัญชาทุกระดับช้ัน
สอดส่องดูแลอบรม ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนอย่างต่อเนื่อง สม ่าเสมอ จริงจังและท าตนเป็นตัวอย่าง
ที่ดีพร้อมกบั ทา การปรับปรุงแนวทางการลงทณั ฑท์ ี่มีอยู่ให้ครอบคลุม เน้ือหาความผิดทางวินัยมาก
ข้ึน เพื่อผูบ้ งัคบั บญั ชาสามารถใช้เป็นเครื่องมือประกอบการพิจารณาการลงทณั ฑ์ได้อย่างรวดเร็ว
ถูกต้อง และประหยดั เวลา และยุติธรรม ปรับปรุงการบรรจุกา ลงัพลทุกระดับช้ัน โดยคดั เลือก
ปรับย้าย โดยสมัครใจจากเหล่าทัพหรือฝากเหล่าทัพเข้าศึกษา ในโรงเรียนระดับนายทหาร
ช้นั ประทวนก่อนนา การบรรจุต่อไป
ABSTRACT
Title : The Military Discipline Problems with the Personnel of the
Supreme Command Headquarters
By : Colonel Kaipan Kaewprapal
Major Field : Military
Research Advisor : Captain RTN.
(Kachawat Prasarnnin)
June 2005
The problems of military discisline with the Supreme Command
Headquarters’ personnel are relate with how to make the personnel more disciplined.
This is very crucial because it will affect the effective duty and the productivity of
personnel. Therefore, the appropriate military discipline and moral education for
personnel which emphasize the instilling of discipline in the personnel, the training
under intentional supervision from commanders of all levels, fair punishment,
examination and evaluation on continuous training and broad improvement of the way
on punishment can make the Supreme command Headquarters’ personnel more
disciplined. The research is conducted by using official documents, texts, related
theses as well as the interviews from the legislative experts and administrative
commissioned and non-commissioned officers. According to the hypothesis, it can be
concluded that the right education on military discipline, morality and military culture
is only a part of making the Supreme Command Headquarters’ personnel more disciplined. But this has to done in accordance with close supervision and role models
of commanders of all levels regularly, continuously and strictly is a suitable period of
time for instilling discipline in the personnel. As for the standard of good punishment,
it will ereate justice and transparency which are the equipment of commanders in
c o n s i d e r a t i o n a n d i m p r o v e m e n t o f t i m e m a n a g e m e n t .
The researcher suggests that it should emphasize more instilling of military
discipline, military culture and morality. In addition, the commanders of all levels have
to supervise and train their subordinates continuously and reqularly. They themselves
are also good role models and they widely improve the way of punishment for finding
more violating the discipline. This can help the commanders use it as tool of abrupt,
right, time saving and just punishment. It can be used to develop the way of
recruitment of all levels by reshuffling the voluntary personnel from the Army, Navy
and AirForce or asking for the seats to study in the non-commissioned officers schools
o f t h e A r m y , N a v y a n d A i r F o r c e b e f o r e b e i n g r e c r u i t e d .
ก
ค าน า
วินยัทหารเป็นสิ่งส าคญั ส าหรับทหารทุกคน อาชีพทหารน้นัแตกต่างจากอาชีพอื่น ๆ
เนื่องจากเป็นอาชีพที่ตอ้งเสียสละไดท้ ้งัชีวิต เลือดเน้ือความสุขส่วนตวั เพื่อปกป้องและพิทกัษไ์วซ้่ึง
ชาติ ศาสนา กษัตริย์ และเป็นอาชีพต้องใช้ความอดทน ใช้อาวุธ และความกล้าหาญในการเสี่ยงภัย
ดงัน้นัการควบคุมความประพฤติการวางกฎระเบียบต่าง ๆ จะตอ้งมีความรัดกุม ยุติธรรม และการ
ลงโทษที่เขม้ขน้กว่าพลเรือน และประชาชนโดยทวั่ ๆ ไป วินยัทหารจึงเป็นสิ่งจา เป็นในการ
ปกครองของผู้บังคับบัญชาทหาร ในการที่จะน าหน่วย น าก าลังพลให้ไปสู่ความส าเร็จของการ
ปฏิบตัิภารกิจที่ไดร้ับมอบหมาย แต่การที่จะทา ให้กา ลงัพลเป็นทหารที่มีวินยัดีไดน้ ้นั ตอ้งใชเ้วลาใน
การอบรมให้ความรู้ และปลูกฝังเข้าไปภายในจิตใจของก าลังพล เพื่อให้วินัยทหารเป็นส่วนหนึ่ง
ของร่างกาย ภายใตจ้ติส านึกตลอดเวลา ดงัน้นัการที่มีเสียงสะทอ้ นว่ากา ลงัพลของกองบัญชาการ
ทหารสูงสุด มีวินัยหย่อนยานจึงเป็นเหตุจูงใจให้ผู้วิจัยสนใจ ท าการศึกษาวิจัยในการหาสาเหตุ เพื่อ
ปรับปรุงในเรื่องวินัยทหาร เพื่อให้ก าลังพลของกองบัญชาการทหารสูงสุด มีวินัยทหารที่ดี ซึ่งจะ
ส่งผลต่อการปฏิบตัิหนา้ที่ให้ดียิ่งข้ึนต่อไป
ผู้วิจัยขอขอบพระคุณ ที่ได้ให้ความกรุณาอนุเคราะห์ช่วยเหลือ แนะน า ให้ข้อมูลด้าน
วิชาการ หลักเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับ และข้อมูล จากการสัมภาษณ์ท าให้เอกสารวิจัยส่วนบุคคล
ฉบบั น้ีเสร็จสมบูรณ์ไดเ้รียบร้อย คือ ผูบั ้ งคับบัญชาระดับสูง ผู้ใหญ่ เพื่อนร่วมงาน ผู้ใต้บังคับบัญชา
ตลอดจน ท่านที่ประสาทวิทยาการ พันเอก สุขสันต์ สิงหเดช ผู้อ านวยการ กองพระธรรมนูญ
กรมสารบรรณทหารบก และนาวาเอก คชวัทน์ ประสานนิล ผู้อ านวยการกองก าลังพล วิทยาลัย
เสนาธิการทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด อาจารย์ที่ปรึกษา และท่านคณะกรรมการพัฒนา
เอกสารวิจัยทุกท่าน ที่ได้กรุณาให้คา แนะนา กา กบั ดูแล และตรวจสอบแกไ้ขไว้ณ โอกาสน้ีผูว้ิจยั
หวงัเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารวิจยัเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ง และผูส้ นใจไดศ้ึกษา
และมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างวินยัทหาร แก่กา ลงัพลของกองบญั ชาการทหารสูงสุด ให้ดียิ่งข้ึน
ต่อไป
พันเอก
(ไกพัล แก้วประพาฬ)
นักศึกษาวิทยาลัยเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๖
มิถุนายน ๒๕๔๘ข
สารบัญ
หน้า
ค าน า ก
บทที่ ๑ บทน า
ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ๑
นิยามปัญหา ๒
วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๒
สมมติฐานการวิจัย ๓
ขอ้ ตกลงเบ้ืองตน้ และขอบเขตการวิจยั ๓
ความจ ากัดของการวิจัย ๔
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย ๔
นิยามศัพท์ ๔
บทที่ ๒ แนวความคิด ทฤษฎี และวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
เจตนารมย์ของพระราชบัญญัติว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศักราช ๒๔๗๖ ๘
ทฤษฎีการควบคุม (Control Theory) ๙
ทฤษฎีความชวั่ (Sheuldtheorie) ๑๐
ความหมายของการกระท าผิดวินัยทหาร ๑๑
ทัณฑ์ตามกฎหมายว่าด้วยวินัยทหาร ๑๒
ฐานความผิดวินัยทหารที่ส าคัญ ๑๗
มาตรการบังคับทางวินัยทหาร ๓๓
การพิจารณาบ าเหน็จประจ าปี ของข้าราชการทหาร ๓๔
อ านาจพิเศษของผู้บังคับบัญชาในการรักษาวินัยทหาร ๓๕
การด าเนินการทางการปกครอง ๓๕
การถอดจากยศทหาร ๓๗
การสั่งให้พกัราชการ ๓๙
การตัด งด และจ่ายเงินรายเดือน ๔๒
การร้องทุกข์ ๔๒ค
การเทียบเคียงมาตรการการบังคับทางวินัยทหารกับการลงโทษทางวินัย
ของข้าราชการพลเรือน ๕๑
วินัยข้าราชการต ารวจ ๕๕
บทที่ ๓ วิธีด าเนินการวิจัย
วิธีที่ใช้ในการวิจัย ๕๗
แหล่งข้อมูล ๕๗
เครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล ๕๘
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ ๕๙
วิธีวิเคราะห์ข้อมูล ๖๐
บทที่ ๔ ข้อมูลและการวิเคราะห์
ข้อมูล ๖๑
การวิเคราะห์ข้อมูล ๖๕
สรุปผลการวิเคราะห์ ๖๖
บทที่ ๕ สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุปการท าวิจัย ๖๘
สรุปผลที่ได้รับจากการวิจัย ๖๙
ข้อเสนอแนะ ๖๙
บรรณานุกรม
ภาษาไทย ๗๒
ประวัติย่อผู้วิจัย ๗๔
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
หนังสือ
วีระ โชคเหมาะ ประมวลกฎหมายอาญาทหาร ฉบับมาตรฐานสมบูรณ์ กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค าแหง, ๒๕๒๑
ประเทือง ธนิยผล อาชญา และทัณฑวิทยา กรุงเทพฯ : แสงจันทร์การพิมพ์, ๒๕๓๘
ชูชัย งามวสุลักษณ์ วินัยข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยควรทราบ กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓
ธานินท์ ทุนทุสวัสด์ิพันเอก ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวินัยทหาร กรมพระธรรมนูญ
กรุงเทพฯ, ๒๕๔๔
กฎหมายหรือประกาศของทางราชการ
“พระราชบญั ญตัิว่าด้วยวินัยทหาร พุทธศกัราช ๒๔๗๖ แก้ไขเพิ่มเติม ฉบบั ที่๕ พ.ศ.
๒๕๐๕ : ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ ๗๙ ตอนที่ ๑๐๕ : ๑๒๑๗
“พระราชบัญญตัิประมวลกฎหมายอาญาทหาร พุทธศกัราช ๒๕๗๐ แก้ไขเพิ่มเติม
ฉบับที่ ๘ พ.ศ.๒๕๐๗ : ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ ๘๑ ตอนที่ ๑๑๑ : ๖๗๘
“พระราชบญั ญตัิธรรมนูญศาลทหาร พุทธศกัราช ๒๔๙๘ แกไ้ขเพิ่มเติม โดยประกาศ
คณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๕ พุทธศักราช ๒๕๒๐
“ประมวลกฎหมายอาญา.
วิทยานิพนธ์และเอกสารวิจัยส่วนบุคคล
จงพุฒ จารุจินดา พลโท “การด าเนินการทางวินัย” เอกสารวิจัยส่วนบุคคล โรงเรียน
เหล่าทหารพระธรรมนูญ, ๒๕๒๘
ประเสริฐ กิจมณี นาวาอากาศโท “แนวความคิดในการลดการกระท าผิดทางอาญา
และทางวินัย ของข้าราชการและลูกจ้างของกองทัพอากาศ” เอกสารวิจัยส่วนบุคคล โรงเรียนเหล่า
ทหารพระธรรมนูญ, ๒๕๓๒
สันติ ทีเจริญ พันโท “ปัญหาขา้ราชการที่ถูกคณะกรรมการ ป.ป.ป. ช้ีมูลความผิดทาง
อาญ า และวินัย”, เอกสารวิจัยส่ วน บุคคล โรงเรี ยน เห ล่าทห ารพระธรรมนู ญ , ๒ ๕ ๓ ๘ ๗๓
ศิริชัย จันทร์สว่าง “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระท าผิดซ้ าของเด็กและเยาวชน ที่อยู่
ระหว่างถูกคุมความประพฤติในสถานพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนกลาง” วิทยานิพนธ์ คณะ
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐
สมศักดิ์ ตัณฑเลขา “ความไม่รู้กฎหมายกับความรับผิดทางอาญา”วิทยานิพนธ์ คณะ
นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๓๐
หนังสือราชการ
คา สั่งทหารที่๒๑๑/๑๐๑๔๓ เรื่องให้กวดขนั วินัยทหาร การแต่งกาย และท่าทางของ
ทหาร ลงวันที่ ๕ กันยายน พุทธศักราช ๒๔๘๘
ส านักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ ๐๒๐๓/๐.๖๒ เรื่อง แจ้งมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๒
เมษายน ๒๕๒๐ ลงวันที่ ๒๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๒๐
คา ช้ีแจงทหารที่๕/๗๔๒๒๗/๒๕๙๗ เรื่องว่าดว้ยการเล่นการพนันส าหรับขา้ราชการ
กลาโหม ลงวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๔๗๙๗๔
ประวัต
ิ
ย
่
อผ
้
วูิ
จัย
ชื่อ พันเอก ไกพัล แก้วประพาฬ
วัน เดือน ปี เกิด ๒ พฤศจิกายน ๒๕๐๐
การศึกษา โรงเรียนพันธะศึกษา แผนกประถม และมัธยม
โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่นที่ ๑๗
นิติศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค าแหง
สถาบันพัฒนาข้าราชการต ารวจ หลักสูตร ฝ่ ายอ านวยการต ารวจชุดที่ ๑๕
โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ รุ่นที่ ๕๗
THE JUDGES ADVOCATE GENERAL’S SCHOOL US.ARMY,
BASIC OFFICER COURSE CLASS 115th (1998)
MASTER OF LAWS, TJAGSA & UVA. CLASS 44th (1995 – 1996)
JOINT FORCES STAFF GOLLEGE, CONBINED JOINT FORCES
STAFF COURSE CLASS 2I/2 (2002)
ประวัติการท างาน - อัยการผู้ช่วย ศาลทหารกรุงเทพ
- อัยการผู้ช่วย ศาลจังหวัดทหารบกสระบุรี
- นายทหารพระธรรมนูญผู้ช่วย ศูนย์รักษาความปลอดภัย
- นายทหารพระธรรมนูญ แผนกคดี และแผนกวิชาการกองพระธรรมนูญ กรมสารบรรณทหาร
- หัวหน้าเลขานุการ ส านักงานเลขานุการ กองบัญชาการทหารสูงสุด
- หัวหน้าแผนกวินัย กองการปกครอง กรมก าลังพลทหาร
- ฝ่ ายเสนาธิการทหาร ประจ ากรมก าลังพลทหาร
- ผู้ช่วยผู้อ านวยการ กองการปกครอง กรมก าลังพลทหาร
ต าแหน่งปัจจุบัน รองผู้อ านวยการกองการปกครองกรมก าลังพลทหารเอกสารวิจัย
เรื่อง
ปัญหาด้านวินัยทหารกับก าลังพลกองบัญชาการทหารสูงสุด
THE MILITARY DISCIPLINE PROBLEMS WITH THE PERSONNEL
OF THE SUPREME COMMAND HEADQUARTERS
โดย
พันเอก ไกพัล แก้วประพาฬ
เสนอ
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
เพ
ื่อประกอบการศ
ึ
กษาตามหลักสูตรเสนาธิการทหาร รุ่นที่ ๔๖
พ.ศ.๒๕๔๘ถกแถลง
เอกสารประกอบการปกป้องเอกสารวิจัย
เรื่อง
ปัญหาด้านวินัยทหารกับก าลังพลกองบัญชาการทหารสูงสุด
THE MILITARY DISCIPLINE PROBLEMS WITH THE PERSONNEL
OF THE SUPREME COMMAND HEADQUARTERS
โดย
พันเอก ไกพัล แก้วประพาฬ
เสนอ
วิทยาลัยเสนาธิการทหาร
เพ
ื่อประกอบการศ
ึ
กษาตามหลักสูตรเสนาธ
ิ
การทหารร
ุ่นท
ี่๔๖
พ.ศ.๒๕๔๘
abstract:
ไม่มี