เรื่อง: แนวทางที่เหมาะสมของกองทัพไทยในการพัฒนายุทธศาสตร์ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ แห่งชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี อุดม ประตาทะยัง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนายุทธศาสตร์ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลเรือตรี อุดม ประตาทะยัง หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ 60
การศึกษาเรื่อง แนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนายุทธศาสตร์ความมั่นคงปลอดภัย
ทางไซเบอร์ในครั้งนี้จะศึกษาเกี่ยวกับความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของประเทศ พัฒนาการของ
ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของประเทศ รูปแบบการโจมตีทางไซเบอร์ ความรุนแรงที่เกิดจาก
ผลกระทบของการโจมตีทางไซเบอร์ต่องานด้านความมั่นคงของประเทศ และศึกษา แนวทางในการ
รับมือกับภัยคุกคามอันเนื่องมาจากความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ที่เหมาะสมในอนาคต ประกอบกับ
ได้มีการน าแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษา พร้อมเสนอ
แนวทางในการพัฒนายุทธศาสตร์ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ซึ่งพบว่าการมีหน่วยงานด้านความ
มั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของประเทศ เพื่อการป้องกันภัยคุกคามทางไซเบอร์ และประสานงานทั้ง
ภายในและระหว่างประเทศในการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์มีความส าคัญ
อีกทั้งต้องมีการบูรณาการร่วมกันของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อยกระดับความพร้อมรับมือภัย
คุกคามทางไซเบอร์ ที่มีผลกระทบต่อโครงสร้างพื้นฐานที่ส าคัญของประเทศ ทั้งนี้ การร่าง
พระราชบัญญัติรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ในปัจจุบันนั้นอาจยังขาดองค์ประกอบที่ส าคัญหลาย
ประการ และถ้าน ามาใช้เป็นเป็นกรอบในการบริหารยุทธศาสตร์ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์จะมี
ความสมบูรณ์เพียงพอที่จะน าไปใช้เป็นกลไกส าคัญในการขับเคลื่อนได้หรือไม่ ประกอบกับนโยบาย
ของประเทศไทยในปัจจุบัน โดยรัฐบาลปัจจุบันมีนโยบายขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง
และยั่งยืน และน าไปสู่ความเป็น Thailand 4.0 ปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ ไปสู่ “Value–Based
Economy” หรือ เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม หน่วยงานของรัฐจึงต้องระมัดระวังในเรื่องภัย
คุกคามด้านอาชญากรรมไซเบอร์เป็นอย่างมาก เพราะการเร่งการพัฒนาเกี่ยวกับอุตสาหกรรมดิจิทัล
เป็นทิศทางที่ถูกต้อง แต่ต้องสามารถด าเนินการควบคู่ไปกับยุทธศาสตร์ความมั่นคงปลอดภัยทาง
ไซเบอร์ (Cyber security) ที่เข้มแข็งด้วย และจากการศึกษาข้อมูลพบว่าการด าเนินงานรักษาความ
ปลอดภัยไซเบอร์ของประเทศไทยยังมีลักษณะต่างฝ่ายต่างท า ถึงแม้ว่าในปัจจุบันความเสี่ยงด้านความ
ปลอดภัยทางไซเบอร์มากขึ้น แต่องค์กรต่างๆ มีการรักษาความปลอดภัยแบบแยกส่วนและบางครั้ง
มีความขัดแย้งกัน ประกอบกับการขาดแคลนทักษะด้านการรักษาความปลอดภัย ท าให้หลายองค์กร
ไม่เข้าใจและไม่สามารถจัดการกับความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการศึกษาข้อมูลปัญหาการ
บูรณาการการด าเนินงานรักษาความปลอดภัยไซเบอร์มีปัจจัยต่างๆ ดังนี้ (1) ปัจจัยจากแนวความคิด
ของฝ่ายต่างๆ (2) ปัจจัยด้านการประสานงาน (3) ปัจจัยด้านงบประมาณ (4) ปัจจัยด้านข้อมูลระหว่าง
ฐานข้อมูล ในการศึกษาต่อไปเพื่อแก้ไขปัญหา เห็นสมควรศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาการบูรณาการ
ด้านความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ของประเทศไทย เพื่อให้เห็นถึงแนวทางที่หน่วยงานต่างๆ
สามารถบูรณาการด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
abstract:
ABSTRACT
Title Appropriate Approaches to Developing Cyber Security Strategies
Field Strategy
Name Rear Admiral Udom Pratathayang Course NDC Class 60
A proper study of the development of the national cyber security
strategy will be the study of cyber security in the country. Develop cyber security,
cyber attacks, the impact of cyber attacks on national security, and how to deal with
cyber-security threats in the future. Theories and related research have been used as
a guideline for the study. Offer Strategies for Developing Cyber Security Strategies
There are cyber security agencies in the country. For protection against cyber threats.
It is important to coordinate the exchange of cyber security information both locally
and internationally. It also requires public-private partnerships to improve cyber
threats. The Cyber Security Act today may still lack several key elements. And if it is
used as a framework for managing cyber security strategies, is it enough or will it be a
key driving force? In line with current Thai policy. The government has a policy to
push Thailand into prosperity and prosperity and become Thailand. "Value for
money" or innovation-driven economy. State agencies must be cautious about
cybercrime threats. Accelerating the development of the digital industry is a right
direction. However, there must be a strong cyber security strategy. The study also
found that Thailand's cyber-security operations were different. Although the current
cyber security risks are increasing But security organizations are fragmented and
sometimes conflicting. In addition to the lack of security skills, Many organizations do
not understand and can not handle the risk effectively. The study of the problems of
integrating cybersecurity has the following elements: (1) the factors of the concept of
the department; (2) the factors of coordination; (3) the factors of the budget; (4) the
factors between the databases in the study. To fix It is recommended to study the
development of cyber security in Thailand. To see how various agencies. Enables
effective cyber security integration.