เรื่อง: การศึกษาแนวทางการอนุรักษ์พันธุ์เสือ ในประเทศไทย กรณีศึกษา เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง อารีรัตน เลาหพล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการอนุรักษ
์
พนัธ
์ุเสือโคร่งในประเทศไทยกรณีศึกษา เขตอนุรักษ
์
พนัธ
์ุสัตว
์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วจิยั นางอารีรัตน์ เลาหพล หลักสูตรวปอ. รุ่นที่60
การวิจัยเรื่องการศึกษาแนวทางการอนุรักษ์พันธุ์เสือโคร่งในประเทศไทย กรณีศึกษา
เขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่ าทุ่งใหญ่นเรศวร มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสถานการณ์และสภาพปัญหา
การอนุรักษ์พันธุ์เสือโคร่ง 2.เพื่อศึกษากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ใช้ก าหนดเกี่ยวกับการอนุรักษ์
พันธุ์เสือโคร่งที่มีอยู่ในปัจจุบันเหมาะสมหรือไม่ และ 3.เพื่อเสนอนะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการ
น าแนวทางที่เหมาะสมการกับการอนุรักษ์พันธุ์เสือโคร่ งในประเทศไทย เครื่ องมือที่ใช้คือ
รวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิชาการและบทความต่างๆ จากการศึกษา พบว่า
1. สถานการณ์และสภาพปัญหาการอนุรักษ์พันธุ์เสือโคร่ง ส าหรับในในเขตรักษา
พนัธุส์ ัตวป์่าทุ่งใหญ่นเรศวรน้นั เสือโคร่งคาดว่าจะเหลืออยู่ประมาณ ประมาณ 100 ตวัจากจา นวน
เสือโคร่ งในประเทศไทยมีประมาณ 200-250 ตัว ซ่ึงภายในปี2565ประเทศไทยจะต้องเพิ่ม
ประชากรเสือโคร่งในป่ าธรรมชาติให้ได้ 300-375 ตวั ตามคา มนั่ สัญญาที่ให้ไวใ้นการประชุมสุด
ยอดผู้น าว่าด้วยการอนุรักษ์เสือโคร่ง (Tiger Summit) ที่ประเทศรัสเซีย( Rostro-Garcia et al., 2016)
2.ด้านกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่ใช้ก าหนดเกี่ยวกับการอนุรักษ์พันธุ์เสือโคร่งที่มี
อยู่ในปัจจุบันพบว่า มีปัญหาการไม่ได้ก าหนดโทษทางอาญาไว้ส าหรับการกระท าผิดกฎหมายใน
บางกรณี ปัญหาอัตราโทษที่ก าหนดไว้ไม่เหมาะสม ปัญหาการไม่มีบทบัญญัติที่ก าหนดหลักเกณฑ์
เฉพาะในการชดใช้ค่าเสียหายให้แก่รัฐ ปัญหาการไม่มีบทบัญญัติที่ให้อ านาจอัยการในการเรียก
ค่าเสียหายในคดีอาญาได้โดยตรง ปัญหาการไม่มีบทบัญญัติที่ให้อ านาจพนักงานเจ้าหน้าที่ในการ
ออกคา สั่งให้ผูก้ระทา ความผิดร้ือถอนสิ่งปลูกสร้างหรือสิ่งหน่ึงสิ่งใดในเขตรักษาพนั ธุ์สัตว์ป่า
ปัญหาการขาดบทบัญญัติที่ส่งเสริมและสนับสนุนกระบวนการสร้างจิตส านึกร่วมในชุมชนเพื่อให้
ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันดูแลรักษาชีวิตสัตว์ป่ าและทรัพยากรธรรมชาติตามรัฐธรรมนูญ
3. ข้อเสนอแนะหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการน าแนวทางที่เหมาะสมการกับการอนุรักษ์
พันธุ์เสือโคร่งในประเทศไทย ข
3.1กระตุ้นให้รัฐบาลให้ความสนใจต่อการอนุรักษ์สัตวป์่าให้มากกว่าน้ีโดยการ
เพิ่มท้ังงบประมาณและนักวิชาการ ให้มากข้ึน ท้ังน้ีเพื่อจะไดม้ีความสามารถในการป้องกนั เขต
รักษาพนัธุ์สตัวป์่าที่มีอยแู่ ลว้ใหไ้ดผ้ลดียงิ่ ข้ึน นอกจากน้ีจะไดด้า เนินการเพื่อการประกาศเขตรักษา
พนัธุส์ ตัวป์่าเพิ่มมากข้ึนตามหลกัวิชาการที่เหมาะสมต่อไป
3.2กระตุ้นให้รัฐมีมาตรการควบคุมการท าลายแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ าอย่างมี
ประสิทธิภาพ และมีบทลงโทษอย่างรุนแรงและจริงจัง
3.3กระตุ้นให้รัฐทุ่มเทความสนใจไปในเรื่องการให้ความรู้แก่ประชาชน เพราะ
การอนุรักษ์สัตว์ป่ าจะประสบผลส าเร็จไม่ได้ ถ้าประชาชนไม่เล็งเห็นซึ่งความส าคัญและไม่ร่วมมือ
ด้วย เราจึงต้องช่วยกันเพื่อให้การอนุรักษ์และการจัดการสัตว์ป่ าของบ้านเราด าเนินไปสู่เป้าหมาย
และลูกหลานของเราจะได้มีสัตว์ป่ าต่างๆ ไว้ดูเล่น โดยไม่สูญพันธุ์ไปจากเมืองไทย
abstract:
ค
Abstract
Title : Model of Preservation Tiger in Thailand for The Case Study of
Thung Yai Naresuan Wildlife Sanctuary
Field : Science and Technology
Name : Mrs. Areerat Laohapol Course NDC Class 60
The objectives of researching, Model of Tiger Conservation in Thailand for The
Case Study of Thung Yai Naresuan Wildlife Sanctuary are 1. For studying circumstance and
problem of tiger conservation 2. For studying how to assign Law, Rule and Regulation for Tiger
Conservation in current situation 3. For recommend the suitable of Tiger Conservation to related
organizations. The methodology of collecting information from academic document and journal found:
1.Circumstance and problem of Tiger Conservation in Thung Yai Naresuan Wildlife
Sanctuary, at the present time they found only 100 tigers out of 200-250 tigers. Therefore in year
2022 Thailand has to increase number of tiger to be 300-375 according to the commitment in
meeting Tiger Submit in Russia (Rostro-Barcia et al., 2016)
2.The current law, rule and regulation for Tiger Conservation do not have penalty in
certain cases as well as not effective way. For example, there is no Fine regulation for the
government, prosecutor has no right to fine in criminal case, there is no regulation allowing
authorities command offender to take off building or construction in area of Thung Yai Naresuan
Wildlife Sanctuary. Furthermore, there is no program to support thinking process in community
to preserve wildlife and resources according to Thailand Constitution.
3.Recommendation for related organizations to support Tiger Conservation in
Thailand
3.1 Urge the government to care and pay intention more in preserving wildlife by
increasing budget and number of specialists in order to have more capability to preserve and
protect the area of Thung Yai Naresuan Wildlife Sanctuary. This will lead to possibility in
increasing area of wildlife sanctuary as well.
3.2 Urge the government to issue effective law and regulation by not to destroy
animal habitats as well as have a strong penalty for those who against the law. ง
3.3 Urge the government to educate villager and residents to become aware and
understand how important of nature and wildlife. Once they become aware they will love and
support their community by protecting, preserving tiger as well as nature and wildlife as long as
possible in sustainable way. And this will lead to increase number of tiger and decrease
opportunity of extinction from Thailand.