เรื่อง: การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการที่ราชพัสดุให้เกิดประโยชน์สูงสุด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว อมรรัตน์ กล่ำพลบ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การบูรณาการข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการที่ราชพัสดุให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัย นางสาวอมรรัตน์ กล่่าพลบ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
‘ที่ราชพัสดุ’ เป็นที่ดินของรัฐประเภทหนึ่ง ถือเป็นอสังหาริมทรัพย์ที่ส าคัญยิ่งต่อการ
บริหารราชการแผ่นดินทั้งในด้านการปกครองและในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งในการบริหารที่ราชพัสดุให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ จ าเป็นต้องมีข้อมูลที่ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบันและทันสมัย ส าหรับใช้เพื่อการ
ตัดสินใจในการบริหารที่ราชพัสดุให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้วิจัยจึงได้มีแนวคิดในการน าข้อมูลที่ราชพัสดุ
ที่ได้วิเคราะห์และประเมินความเหมาะสมตามศักยภาพที่ดินราชพัสดุ โดยการประยุกต์ใช้ระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ในการประเมินและจ าแนกความเหมาะสมจากปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนา
ที่ดิน ได้แก่ ขนาดแปลงที่ดิน มูลค่าที่ดิน ระยะห่างจากระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง ท าเลที่ตั้ง
เป็นต้น ประกอบกับการพิจารณาการใช้ประโยชน์ปัจจุบัน ข้อจ ากัดของแปลงที่ดิน ข้อได้เปรียบของ
แปลงที่ดิน โดยจัดท าเป็นชั้นข้อมูลและแสดงข้อมูลเชิงพื้นที่บนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( GIS)
จากจ านวนข้อมูลในระบบทะเบียนที่ราชพัสดุ (MIS) อันประกอบไปด้วยข้อมูลการได้มา ที่ตั้ง ราคา
ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นต้น ซึ่งระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ของ
กรมธนารักษ์ ที่แสดงภาพแผนที่บนคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่อมโยงกับระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร
(Management Information System) หรือ MIS จ านวนประมาณ ๖๙,๑๓๔ ทะเบียน โดยการ
บูรณาการข้อมูลด้วยการวิเคราะห์มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ (EVA) เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเพิ่ม
มูลค่าให้แก่ทรัพย์สิน อันเป็นอสังหาริมทรัพย์ของรัฐบาล ทั้งนี้ ผลการวิจัยจะมีประโยชน์ในการเป็น
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายส าหรับผู้บริหารในการวางกรอบนโยบายการบริหารที ่ราชพัสดุให้
สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาประเทศให้เกิดประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title Integration of Information for Management of Ratchapatsadu Land
to Maximum Utilities
Field Science and Technology
Name Miss Amornrat Klamplob Course NDC Class 60
‘Ratchapatsadu land’ is a type of state land. It is a real estate that is
important for the administration of the land, both in government and in economics.
In the management of Ratchapatsadu land is effective, need to accurate and up-todate information. To use for decision making in the management of the utilities for
maximum benefit. Researcher has the idea of using the information that the
government has analyzed and assessed the suitability of the land. By application of
Geographic Information System (GIS) to evaluate and classify the appropriateness of
the factors affecting the development of land such as land plot size, land value,
distance from the transportation network, location, etc. In addition to considerate
current using, limitations of land plots and advantages of land plots. Geographic
Information System (GIS) is the data layer and spatial information (GIS) of the data in
Management Information System (MIS). This includes information on location, land
and buildings and landuse, etc. The Geographic Information System (GIS) of the
Treasury Department can show map display on the computer. It can be linked to
Management Information System (MIS) number of 69,134. By integrating data with
value added economic analysis (EVA) to use as a guideline to add value to the
property of the government. The results of this research will be useful as a policy
recommendation for executives in setting up a policy framework for the state
management in line with the country's development policy for efficiency and
sustainability.