Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาทางหลวงหมายเลข 12 (East -West Economic Corridor: EWEC) เพื่อเชื่อมโยงการขนส่งและรองรับยุทธศาสตร์เศรษฐกิจพิเศษ ตะวันออกตะวันตก

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อภิรัฐ ไชยวงศ์น้อย
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนาทางหลวงหมายเลข 12 (East-West Economic Corridor : EWEC) เป็นเส้นทางคมนาคมและการขนส่งเพื่อเชื่อมโยง และรองรับยุทธศาสตร์เขตเศรษฐกิจพิเศษตะวันออก – ตะวันตก ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายอภิรัฐ ไชยวงศ์น้อย หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60 เส้นทางหมายเลข ๑๒ ของประเทศไทย เป็นส่วนหนึ่งของเส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจ ตะวันออก – ตะวันตก ที่เชื่อมโยงสมาชิกกลุ่มประเทศภายใต้กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มน ้าโขง (Greater Mekong Sub-region : GMS) การพัฒ น าแนวพื นที่ระเบียงเศรษ ฐกิจ (Economic Corridor) ของกลุ่มประเทศ ถือเป็นเส้นทางที่ได้รับการพัฒนามากที่สุด ใน ๓ เส้นทางระเบียง เศรษฐกิจ คือ ระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก ระเบียงเศรษฐกิจเหนือ – ใต้ และระเบียง เศรษฐกิจตอนใต้ เส้นทางหมายเลข ๑๒ ในประเทศไทยมีระยะทางยาว ๗๙๓ กิโลเมตร เริ่มตั งแต่ ชายแดนแม่สอดจังหวัดตาก ที่ด่านสะพานมิตรภาพไทย – พม่า แห่งที่ ๑ (แม่สอด-ตาก) ผ่านจังหวัด พิษณุโลก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดมุกดาหาร ไปสิ นสุดที่ชายแดน จังหวัดมุกดาหาร ที่สะพานมิตรภาพไทย – ลาว แห่งที่ ๒ (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) เนื่องจาก การพัฒนาระบบโครงข่ายทางหลวง เป็นปัจจัยพื นฐานที่ส้าคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ ดังนั น เส้นทางหมายเลข ๑๒ จึงถือเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ที่ส้าคัญที่เชื่อมโยงการคมนาคม ขนส่ง ที่จะช่วยลดเวลาในการเดินทาง ลดต้นทุนการผลิตในภาคขนส่ง อันเป็นการส่งเสริมการค้าการ ลงทุน ระหว่างอนุภูมิภาคลุ่มแม่น ้าโขงได้เป็นอย่างดี จากการศึกษาโครงข่ายทางหลวงหมายเลข ๑๒ พบว่า ทางหลวงหมายเลข ๑๒ เป็น เส้นทางที่สามารถเชื่อมโยงการขนส่งรูปแบบอื่น คือ มีเส้นทางรถไฟตัดผ่าน เป็นเส้นทางสนับสนุนการ ท่องเที่ยว เป็นเส้นทางที่เชื่อมด่านชายแดนระหว่าง พม่า – ไทย – สปป.ลาว ที่เปรียบเสมือนประตู การค้าที่ส้าคัญ แต่ปัญหาความไม่สมบูรณ์ของทางหลวง เนื่องจาก บางช่วงยังมีสภาพเป็นทาง ๒ ช่อจราจร การขาดการบูรณาการข้อมูลระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ท้าให้การด้าเนินก่อสร้างล่าช้า เช่น อุทยานสัตว์ป่าและพันธุ์พืชแห่งชาติ ดังนั น จึงควรมีการบูรณาการข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรต่างๆ รวมทั ง ผู้มีส่วนได้เสีย ที่จะต้องให้ตระหนักถึงความส้าคัญของการปรับปรุง โครงข่ายการคมนาคม เพื่อการพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต

abstract:

ก ABSTRACT Title Highway 12 (East-West Economic Corridor: EWEC) is a transportation and transportation route linking and supporting East-West Economic Corridor Field Economics Name MR.Apirat Chaiwongnoi Course NDC Class 60 Route 12 of Thailand is part of the East-West Economic Corridor linking member countries under the Greater Mekong Sub-region (GMS). Development of the Economic Corridor Group of countries The economic terrace is the East-West Economic Corridor, the North-South Economic Corridor and the Southern Economic Corridor. Route 12 in Thailand is 793 kilometers long, starting from Mae Sot border. starting from Mae Sot border, Tak province. At the first Thai-Burmese Friendship Bridge (Mae Sot-Tak) through Phitsanulok. Phetchaboon Khon Kaen Karasin Mukdahan To end the border Mukdahan. The 2nd Thai-Lao Friendship Bridge (Mukdahan - Savannakhet) , Because of the development of the highway network. It is an important factor. In the economic and social development of the country, Route 12 is an important strategic route linking transportation to reduce travel time. Reduce production costs in transportation sector. The promotion of trade and investment. The Greater Mekong Subregion According to the Highway 12 study, Highway 12 is a route that can link other modes of transport. It is a support route for tourism. It is a route connecting the border between Myanmar, Thailand, Lao PDR, as an important trading gateway. However, the problem of highway inadequacies is due to the fact that some roads are still under way. It should therefore be possible to integrate information between government agencies, private sector organizations, stakeholders and stakeholder groups. To be aware of the importance of improving the transport network. For the future development of the country.