เรื่อง: การนำแนวพระราชดำริสู่การปฏิบัติ ศึกษากรณีชุมชนบ้านพุสวรรค์ จังหวัดเพชรบุรี
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว อภิรดี เงินวิจิตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การน าแนวพระราชด าริสู่การปฏิบัติ ศึกษากรณีชุมชนบ้านพุสวรรค์จังหวัดเพชรบุรี
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นางสาวอภิรดี เงินวิจิตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที่60
ส านักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้จัดท าโครงการพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์
แนวพระราชด าริ (Area-based Rural Development Program (applied from His Majesty the
King’s initiatives) ด้วยการน้อมน าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน องค์ความรู้
6 มิติ(น้ า ดิน เกษตร พลังงานทดแทน ป่า สิ่งแวดล้อม) มาด าเนินงาน ในพื้นที่ชุมชนหมู่บ้านพุสวรรค์
หมู่ที่ 1 ต าบลพุสวรรค์ อ าเภอแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี จากการประเมินผลการด าเนินงานพบว่า
ผลสัมฤทธิ์ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม และด้านสิ่งแวดล้อม มีแนวโน้มที่ดีขึ้นสร้างการรับรู้และการ
เปลี่ยนแปลงในชุมชนได้อย่างชัดเจน แต่ยังมีปัญหาวิกฤตที่ต้องแก้ไข คือ หนี้สินเพิ่มขึ้น การออม
ลดลง และการใช้สารเคมีในการเกษตร จึงทบทวนการขับเคลื่อนที่ผ่านมาโดยเทียบเคียงกับการพัฒนา
ในพื้นที่ต้นแบบ ภายใต้ “โครงการปิดทองหลังพระ สืบสานพระราชด าริ” จากการศึกษาพบว่า
อุปสรรคในการขับเคลื่อนการพัฒนา มีทั้งปัจจัยภายในชุนชน ได้แก่ การไม่เข้าใจกันของผู้มีส่วน
เกี่ยวข้อง ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงน้อยไป การไม่มีความรู้ด้านการจัดการตลาด
และปัจจัยภายนอกชุมชน ได้แก่ สภาพภูมิประเทศที่ล่อแหลมต่อการเข้าไปสู่ความขัดแย้ง ภาครัฐดูแล
สนับสนุนงบประมาณได้ไม่ทั่วถึง ความเจริญของเมืองและเทคโนโลยี ท าให้วิถีชีวิตของชุมชน
เปลี่ยนไป โดยปัจจัยความส าเร็จที่ส าคัญ คือ คน ไม่ว่าจะเป็นผู้น าหรือชาวบ้าน กระบวนการพัฒนา
ที่ยึดแนวทางหลักการทรงงานเป็นกรอบในการด าเนินงานความต่อเนื่องในการพัฒนา และการท างาน
ร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่กับชาวบ้าน ที่เกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกัน ตลอดจนเครื่องมือพัฒนาที่ยึดความ
ต้องการร่วมกันของชุมชน การมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของชุมชน และการยึดโยง“บวร” ที่เป็น
สถาบันหลักทางสังคม ดังนั้น การก าหนดแผนพัฒนาชุมชน จึงต้องให้ความส าคัญกับความต้องการ
และการมีส่วนร่วมของชุมชน ต้องเสริมสร้างผู้น าในท้องถิ่น ให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับการยึดแนวทางหลักการทรงงานในการพัฒนา ส่งเสริมกลไก “ประชารัฐ”
ให้เกิดผลในการปฏิบัติ และมีการติดตามผลอย่างสม่ าเสมอ
abstract:
Abstract
Title : Putting Royal Initiative into Practice, Phu Sawan Village Case Study,
Petchaburi Province
Filed : Economics
Name: Miss Apiradee Ngernvijitr Course NDC Class 60
The Bureau of the Crown Property has launched an area-based Rural
Development Program, applied from King Bhumibol’s initiatives. His sufficiency economy
philosophy, working principles and six-dimension knoeledge principles (water, soil,
farming, renewable energy, forest, environment) have been adopted and brought
into practice in the Phu Sawan Village area, Moo 1, Phu Sawan Sub-district, Kang Krajarn
District, Petchaburi Province. The evaluation results reveal better economic, social
and environmental tendencies. Apparent awareness and changes within the community
have also been witnessed. However, there are a few critical problems awaiting solutions,
including increased debts, less savings, and farming chemical abuse. The driving forces of
the Program have eventually been reviewed, comparing with those exploited in the
prototype project called “The Royal Initiative Discovery Project (The Pid Thong Lang
Phra Project)”. The studies show that barriers obstructing the driving forces emerge
within the community itself. Such hurdles include the misunderstanding of people
involved, insufficient perception of sufficiency economy philosophy and lack of marketing
knowledge. There are also uncontrollable factors from outside the community,
including geographical locations that tend to originate conflicts, insufficient financial
and administrative, support from the government, and changes in local way of living
caused by community and technology development. The vital keys to success are
Human Resources, both community leaders and villagers, the development process
that follows His working principles, development continuity, cooperation of government
officials and villagers who learn together while working hand in hand, development
tools that are based on community needs and participation in every process within
the community , as well as bonds among the main social institutions: homes; temples;
and schools. The community development planning ultimately requires concentration on
community needs and contributions, enhancement of the understanding of sufficiency
economy philosophy among local leaders, pursuit of His working principles, transformation
of “public-private” mechanism into practical reality, and regular follow-ups.