เรื่อง: แนวทางพัฒนาผลิตภาพแรงงานไทยเพื่อให้เกิดมาตรฐานการจ้างงานอย่างยั่งยืน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อภิชิต ประสพรัตน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางพัฒนาผลิตภาพแรงงานไทยเพื่อให้เกิดมาตรฐานการจ้างงาน
อย่างยั่งยืน
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู้วิจัย นายอภิชิต ประสพรัตน์ หลักสูตรวปอ. รุ่นที่ 60
แรงงานไทยส่วนใหญ่ยังปีปัญหาการขาดทักษะและประสบการณ์แรงงาน และ
แรงงานในแต่ละกลุ่มมีความแตกต่างกันและมีความซับซ้อนมาก สิ่งที่น่าเป็นกังวลอีกเรื่องส าหรับ
ประเด็นปัญหาของแรงงานไทยคือการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร อัตราผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น ซึ่ง
จะท าให้ผู้ที่อยู่ในวัยท างานจะต้องรับภาระการเลี้ยงดูผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้นในอนาคต และส่งผลให้มี
แรงกดดันต่อขนาดก าลังแรงงานของไทยลดลงซึ่งจะท าให้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานจะมี
แนวโน้มรุนแรงขึ้นในอนาคต หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการค่าจ้างใช้ในการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ าที่
ผ่านมาจะให้ความส าคัญกับค่าครองชีพและการเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างมาก ไม่มีการพิจารณา
ถึงปัจจัยด้านผลิตภาพแรงงาน กล่าวคือ ใช้ดัชนีราคาเป็นเกณฑ์ในการปรับทุกครั้ง ส่วนหลักเกณฑ์
อื่นๆ ได้แก่ ความจ าเป็นของฝ่ายนายจ้าง ลูกจ้าง และสภาพทางเศรษฐกิจ มักเป็นข้อมูลที่ใช้
ประกอบการพิจารณาเท่านั้นซึ่งปีที่ค่าจ้างเพิ่มขึ้นมากกว่าดัชนีราคาผู้บริโภคมากๆ จะเป็นปีที่
ขบวนการแรงงานมีความเข้มแข็งหรือบรรยากาศทางการเมืองสนับสนุน ท าให้มีการปรับเพิ่มค่าจ้าง
ขั้นต่ าได้มาก จึงอาจกล่าวได้ว่าการก าหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ าของไทยที่ผ่านมาเป็นไปตามอ านาจ
ต่อรองระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างมากกว่าจะเกิดจากการพิจารณาหลักเกณฑ์ความเหมาะสมทาง
เศรษฐกิจ จึงเป็นที่มาในการศึกษา เรื่อง แนวทางพัฒนาผลิตภาพแรงงานไทยเพื่อให้เกิดมาตรฐาน
การจ้างงานอย่างยั่งยืน
โดยมีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาผลิตภาพแรงงานไทยวิเคราะห์
มาตรการในการพัฒนาผลิตภาพแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและเพิ่มรายได้ให้แรงงานไทย ส ร้ า ง
แนวคิดเรื่องโครงสร้างค่าจ้างแรงงานอย่างมีระบบชัดเจนมากขึ้น ให้เกิดมาตรฐานการจ้างงานอย่าง
ยั่งยืน ผลการศึกษาสรุปโดยย่อได้ดังนี้ หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการค่าจ้างใช้ในการปรับเพิ่มค่าจ้าง
ขั้นต่ าที่ผ่านมาจะให้ความส าคัญกับค่าครองชีพและการเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างมาก ไม่มีการ
พิจารณาถึงปัจจัยด้านผลิตภาพแรงงาน การเปลี่ยนแปลงอัตราค่าจ้างขั้นต่ าเป็นสาเหตุหนึ่งที่ท าให้
เกิดเงินเฟ้อ แต่การเปลี่ยนแปลงดัชนีราคาผู้บริโภคในประเทศไม่ได้เป็นสาเหตุให้ค่าจ้างขั้นต่ า ข
เพิ่มขึ้น เมื่อแรงงานได้ผ่านกระบวนการพัฒนาผลิตภาพแรงงาน ท าให้แรงงานมีความสามารถใน
การผลิตสินค้าและบริการได้เพิ่มขึ้น ซึ่งหมายถึง ท าให้การผลิตนั้นผลิตด้วยต้นทุนที่ลดลง
ผลกระทบของการบังคับใช้กฎหมายค่าจ้างขั้นต่ าในประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่า เมื่อมีการปรับ
ค่าจ้างขั้นต่ าเพิ่มขึ้นจะส่งผลให้การจ้างงานลดลง โดยเฉพาะในกลุ่มแรงงานที่อายุน้อยกว่า 18 ปี
สาเหตุเนื่องจากปัญหาการใช้แรงงานเด็ก และการค้ามนุษย์การเพิ่มผลิตภาพแรงงานยังส่งผลต่อ
การรักษาระดับดัชนีค่าครองชีพ เพิ่มมาตรฐานการครองชีพ เพิ่มผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ
(GDP) และส่งผลดีต่อสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม และมีข้อเสนอแนะ คือ คณะกรรมการค่าจ้าง
ใช้เกณฑ์ในการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นควรพิจารณาถึงหลายๆ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ทั้งค่าครองชีพ การ
เติบโตทางเศรษฐกิจ และปัจจัยด้านผลิตภาพแรงงาน เป็นต้น การก าหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ า ควร
พิจารณาหลักเกณฑ์ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ โดยค านึงถึงต้นทุนในการผลิตภาพแรงงาน ค่า
ครองชีพ ความสามารถในการผลิตของนายจ้าง อัตราเงินเฟ้อ และดัชนีผู้บริโภครัฐบาลเมื่อมีการ
ก าหนดค่าจ้างขั้นต่ าแล้ว ควรวางแนวทางและด าเนินการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพฝีมือแรงงาน
หรือผลิตภาพแรงงานอย่างเป็นรูปธรรมควบคู่กันไปด้วย มีการพัฒนาคุณภาพแรงงานเพื่อชดเชย
การลดลงของสัดส่วนประชากรวัยแรงงาน ซึ่งเป็นปัจจัยส าคัญที่จะช่วยให้ประเทศไทยมีการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง ยกระดับการศึกษาและการพัฒนาทักษะด้านแรงงาน รวมทั้ง
กลไกการก าหนดค่าตอบแทนจากแรงงานเทียบกับผลิตภาพแรงงานที่แท้จริง เพื่อน าไปสู่ความ
เข้าใจในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตลาดแรงงานที่อาจส่งผลกระทบต่อมาตรฐานการครองชีพควรให้
ความส าคัญต่อข้อมูลแรงงาน เพราะมีความจ าเป็นต่อการติดตามภาวะเศรษฐกิจและประกอบการ
ตัดสินใจเชิงนโยบาย รวมถึงสะท้อนแรงกดดันต่อเงินเฟ้อที่เกิดจากตลาดแรงงาน มีแผนยุทธศาสตร์
ในเรื่องเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว (Immigration Policy) อย่างชัดเจน เนื่องจากแรงงานต่างด้าวจ าเป็น
ต่อตลาดแรงงานไทยโดยท างานในงานที่แรงงานไทยไม่นิยมท าควรเพิ่มผลิตภาพของแรงงาน
(Labour Productivity) โดยภาครัฐและภาคเอกชนควรสนับสนุนการลงทุนในสินทรัพย์ทุนให้มี
จ านวนเครื่องจักรต่อแรงงานมากขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยี เร่งพัฒนาฝีมือแรงงานให้มีสมรรถนะ
สูงโดยจัดฝึกอบรมทักษะที่จ าเป็น และสร้างวัฒนธรรมการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) ที่
เน้นพัฒนาคุณลักษณะใฝ่เรียนรู้ให้แก่บุคลากร รวมทั้งภาครัฐควรสนับสนุนการพัฒนาแรงงานใน
ธุรกิจ SMEs ด้วยเป็นต้น ค
ค าน า
ประเทศไทยได้ประกาศก าหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ าอัตราแรกขึ้นบังคับใช้เมื่อวันที่
14 เมษายน พ.ศ. 2516 ในอัตราวันละ 12 บาท ในท้องที่กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ นนทบุรี
และปทุมธานี ต่อมาได้ขยายขอบเขตการบังคับใช้ออกไปทั่วราชอาณาจักรใน พ.ศ. 2517 ซึ่งมีการ
ก าหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ าไว้ ไม่เกิน 3 อัตรา คือ วั นละ 16 บาท ในภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ วันละ 18 บาท ในจังหวัดอุดรธานี นครราชสีมา ขอนแก่น อุบลราชธานี ภาคกลาง
และภาคใต้ ส่วนจังหวัดที่เหลือมีอัตราค่าจ้างขั้นต่ าวันละ 20 บาท และหลังจากนั้นได้มีการปรับอัตรา
ค่าจ้างขั้นต่ าตามภาวะเศรษฐกิจ สังคม และภาวการณ์จ้างงานที่เปลี่ยนแปลงไปอีกหลายครั้ง
หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการค่าจ้างใช้ในการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ าที่ผ่านมาจะให้
ความส าคัญกับค่าครองชีพและการเติบโตทางเศรษฐกิจค่อนข้างมาก ไม่มีการพิจารณาถึงปัจจัยด้าน
ผลิตภาพแรงงาน การปรับค่าจ้างขั้นต่ ายังส่งผลต่อการจ้างงานในแต่ละอุตสาหกรรมแตกต่างกัน ใน
อุตสาหกรรมที่มีการใช้แรงงานเข้มข้นจะมีต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าอุตสาหกรรมอื่น และ
อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเป็นปัจจัยส าคัญในการผลิตอาจมีการปรับตัวหรือใช้ปัจจัยอื่นในการ
ทดแทนได้น้อยกว่าอุตสาหกรรมอื่น แรงงานที่มีทักษะหรือมีประสบการณ์ในการท างานมายาวนาน
บางส่วนยังคงได้รับค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างขั้นต่ าหรือสูงกว่าเพียงเล็กน้อย ส่งผลให้แรงงานเหล่านี้ขาด
ก าลังใจในการท างาน จึงหางานอื่นที่ได้ค่าจ้างมากกว่า
เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ.2560 ที่ผ่านมาคณะกรรมการค่าจ้าง ได้มีมติพิจารณาปรับขึ้น
อัตราค่าจ้างขั้นต่ าประจ าปี 2560 โดยน า 10 รายการสูตรใหม่มาพิจารณาปรับขึ้นค่าจ้าง 5-8-10 บาท
ใน 69 จังหวัดและ“ผลิตภาพแรงงาน” คือหนึ่งในรายการที่ถูกน ามาพิจารณา ดังนั้นแล้ว “ผลิตภาพ
แรงงาน” จึงมีความส าคัญต่อเรื่องค่าจ้างแรงงาน จึงเป็นที่มาในการศึกษาในเรื่องแนวทางพัฒนา
ผลิตภาพแรงงานไทยเพื่อให้เกิดมาตรฐานการจ้างงานอย่างยั่งยืน
(นายอภิชิต ประสพรัตน์)
นักศึกษาวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
หลักสูตรวปอ.รุ่นที่60
ผู้วิจัย
abstract:
ABSTRACT
Title The development of Thai labor productivity to achieve sustainable
employment standards
Field Economics
Name Mr. Apichit Prasoprat Course NDC Class 60
Most Thai laborers still have years of experience, lack of skills and labor experience
and the labor in each group is very different and complicated. Another worrying issue for Thai
workers is a demographic change, increased elderly this will make people in working age have to
bear the burden of raising the elderly in the future and the pressure on the size of the labor force
in Thailand will make the shortage of labor more likely in the future. Criteria paid by the Wage
Board to raise minimum wages in the cost of living and economic growth is very high are not
Labor factors considered. That is, use the price index as a threshold for every adjustment. Other
criteria include: the need of employers and economic conditions. This is only for information
purposes. The year in which wages rose more than the consumer price index. It will be a year
when the labor movement is strong or the political climate is supportive. The minimum wage has
been increased It can be said that the determination of the minimum wage of the past is more in
line with the bargaining power between the employer and the employee, rather than the
consideration of the economic suitability criteria. It is in the study the development of Thai labor
productivity to achieve sustainable employment standards.
The purpose is to study the development of Thai labor productivity, analyze
measures to develop labor productivity in the industrial sector and increase income for Thai
workers. Create a clearer concept of wage structure to sustainable employment standards. The
summary is summarized as follows the criteria used by the payroll committee to raise minimum
ages are to focus on the cost of living and economic growth no consideration labor productivity.
Changing the minimum wage is one reason for inflation. But the change in the consumer price
index in the country does not cause a rise in the minimum wage. When the labor force has gone
through the labor development process. Labor productivity has increased, which means that 2
production is at a lower cost. The impact of last-minute minimum wage law enforcement in
Thailand is that increasing the minimum wage will result in lower employment. Especially in the
labor group, which is less than 18 years old. Caused by the problem of child labor. And human
trafficking. Increasing labor productivity has also contributed to maintaining the index of living
costs. Raise the standard of living Increasing gross national product (GDP) and contributing to
economic and social conditions. It is suggested that the Wage Committee take into account the
criteria for increasing wages. Relevant factors the cost of living Economic growth And factors in
labor productivity. Determining the minimum wage Consider the economic suitability criteria.
Taking into account the cost of production, labor cost, living costs, productivity of the employer.
inflation And consumer index. When the minimum wage is determined It should be established
and guided in the promotion and development of the quality of labor skills or the production of
labor concurrently. Labor quality has been improved to compensate for the declining proportion
of the working-age population. This is an important factor that will help Thailand continue to
grow economically. Improve education and skills development, as well as the mechanics of labor
compensation versus actual labor productivity to lead to understanding the various issues. Related
to the labor market may affect the standard of living. Should pay attention to labor data. It is
necessary to monitor the economy and make policy decisions it also reflects the pressure on
inflation from the labor market. Strategic Plan with regard to migrant workers clearly because
migrant workers are essential to the Thai labor market by working in unskilled labor. Labor
productivity should be increased. Public and private sectors should support capital investment to
increase the number of labor machines. Technology development Accelerate the development of
skilled workers by providing necessary skills training. And to build a culture of performance
(Best Practice) that focuses on developing the learning experience for personnel and the
government should support the development of SMEs.