เรื่อง: ยุทธศาสตร์การพัฒนางานวิจัยเพื่อรองรับเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก(EEC)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, เรืออากาศเอกหญิง สายจิตต์ พลอินทร์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์การพัฒนางานวิจัยเพื่อรองรับเขตพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor)
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย เรืออากาศเอกหญิง สายจิตต์ พลอินทร์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคะวันออก โดยมีจุดประสงค์ที่จะพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก อันได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง
ซึ่งต่อไปจะพัฒนาไปเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมโดยเร็ว
โดยศึกษาแนวทางอุตสาหกรรมเป้าหมาย Super Cluster อุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง และ
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กลุ่มอุตสาหกรรมทั้ง First S-Curve และ New S-Curve และมีผลการศึกษา
ในการก าหนดยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนางานวิจัยได้ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ งานวิจัยเพื่อศึกษาการปฏิรูปภาคอุตสาหกรรมไทยสู่ อุตสาหกรรม
ที่ขับเคลื่อนด้วยปัญญา โดยเป็นยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนางานวิจัยนี้นี้มีเป้าหมายในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิตของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพิ่มการใช้งานด้านดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ งานวิจัยเพื่อศึกษาปฏิรูปนิเวศอุตสาหกรรมรองรับอุตสาหกรรม
ที่ขับเคลื่อนด้วยปัญญา โดยเป็นยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนางานวิจัยนี้มีเป้าหมายในการปฏิรูปองค์กร
ภาครัฐเพื่อรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมเป้าหมาย เพิ่มมูลค่าการลงทุนในกลุ่มอุตสาหกรรม
เป้าหมายในพื้นที่เป้าหมาย เพิ่มการลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา เพิ่มจ านวนนักวิจัยใน
อุตสาหกรรมเป้าหมาย
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ งานศึกษาวิจัยเพื่อการเชื่อมโยง ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมายไทยกับ
เศรษฐกิจโลก โดยยุทธศาสตร์นี้มีเป้าหมายให้รูปแบบการผลิตของภาคอุตสาหกรรมสามารถ
ตอบสนองต่อความต้องการของตลาดโลกและปรับเปลี่ยนสู่ห่วงโซ่ที่มีมูลค่าสูง พัฒนารูปแบบและ
เพิ่มการใช้ดิจิทัลเพื่อการจัดหาวัตถุดิบและการท าตลาดระดับโลก เพิ่มการลงทุนของผู้ประกอบการไทย
ไปยังต่างประเทศเป้าหมายและเพิ่มการลงทุนของนักลงทุนต่างชาติในกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย
รวมทั้งเพิ่มการขยายตัวของอุตสาหกรรมกลุ่มเป้าหมายไปยังตลาดต่างประเทศ
abstract:
Abstract
Title ASEAN Counter-Terrorism Intelligence Cooperation Initiative
Field Strategy
Name Flt.Lt Saijit Ponin Course NDC Class 60
A study on Research, which involve with Eastern Economic Corridor in
government policy-making: A case study of the Eastern Economic Corridor
Development Project (EEC) in Eastern Area of Thailand. The study was based on an
in-depth interview questionnaire. Public, private and public sector interviews show
that the Eastern Economic Corridor project is beneficial to all people. For example,
the research needed for the area in the form of economic development lead to
future EECi and EECd business benefit.
By studying the issue of public participation in government policy. It was
found that research should involved in the implementation of the Eastern Economic
Corridor Development Project which are
1) Research lead to increasing efficiency of industrial and production,
2) Research lead to increasing research and development,
3) Research lead to integrate 10 New S-Curve Industry and related
according to (1) and (2)
However, if the EEC implementation is delayed, Thailand will lose the
opportunity. Because today's neighboring country Especially the CLMV group,
including Indonesia. "Open Window" offers the privilege to invite Thai and foreign
investors to invest as well as Thailand.