เรื่อง: โรงพยาบาลสนามกองทัพบกในอนาคต
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี วุฒิไชย อิศระ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง โรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทยในอนาคต
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลตรีวุฒิไชย อิศระ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภารกิจของโรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทย
ที่หน่วยสายแพทย์มีโอกาสที่จะตอบสนองต่อภารกิจและศึกษาแนวทางการพัฒนาโรงพยาบาลสนาม
กองทัพบกไทยในอนาคตให้มีความเหมาะสมและความคุ้มค่า เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ โดยมีขอบเขตการวิจัยในด้านบุคลากร โครงสร้างการจัด สิ่งอุปกรณ์โรงพยาบาลสนาม
ระบบการปฏิบัติงานที่ส าคัญและจ าเป็น ใช้วิธีด าเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์แผนยุทธศาสตร์
วิเคราะห์ SWOT โรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทยในปัจจุบัน รวมถึงการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกโดย
ใช้ค าถามชนิดปลายเปิดกับผู้ให้ข้อมูลส าคัญที่มีความรู้ ประสบการณ์การท างาน ฝึก อบรม ศึกษา หรือดูงาน
โรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทย โรงพยาบาลสนามกองทัพบกสหรัฐอเมริกา และโรงพยาบาลสนาม
องค์การสหประชาชาติ แบบเฉพาะเจาะจง เพื่อการวิเคราะห์เปรียบเทียบ และหาแนวทางการพัฒนา
โรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทยในปัจจุบันและอนาคต 10 ปีข้างหน้า ในช่วง 1 กุมภาพันธ์ 2561
ถึง 30เมษายน 2561จ านวน 19ราย ผลการวิจัย พบว่า การเปรียบเทียบโรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทย
ในปัจจุบันกับโรงพยาบาลสนามกองทัพบกสหรัฐอเมริกา และโรงพยาบาลสนามองค์การสหประชาชาติ
ข้อดี คือ ระบบการท างานไม่ซับซ้อน อ่อนตัวได้ง่าย และโรงพยาบาลสนามระดับกองทัพเคลื่อนที่ได้ง่ายกว่า
ข้อด้อย คือ ขีดความสามารถต่ ากว่า ไม่มีอัตราด้านชีวอนามัย สุขภาพจิต กายภาพบ าบัด และโภชนาการ
สิ่งอุปกรณ์การแพทย์ การสื่อสาร การสนับสนุน โครงสร้างพื้นฐาน ระบบปรับอากาศระบบการบ ารุงรักษา
ระบบการจัดการ ระบบควบคุมคุณภาพทางคลินิก ระบบการเคลื่อนย้าย ไม่ทันสมัยและด้อยกว่า
การฝึกอบรมและการพัฒนาวิจัยโรงพยาบาลสนามน้อยกว่าและไม่สม่ าเสมอ แนวทางการพัฒนา
โรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทยในอนาคต คือ ด้านก าลังพล ควรปรับโครงสร้างก าลังพล
เป็นชุดปฏิบัติการการแพทย์แยกส่วน (Medical Module) ควรมุ่งเน้นขีดความสามารถก าลังพล
เรื่องการส่งกลับและการรักษาพยาบาลเบื้องต้นเป็นส าคัญ ควรเพิ่มอัตราด้านชีวอนามัย สุขภาพจิต
โภชนาการ และช่างเครื่องมือแพทย์ บรรจุก าลังพลให้ตรงตามสมรรถนะของต าแหน่ง จัดการฝึกอบรม
ที่ชัดเจนและสม่ าเสมอ เช่น การฝึกหน้าที่เฉพาะด้าน การฝึกจ าลองสถานการณ์ เปลี่ยนอัตราก าลังพล
บางส่วนที่ไม่จ าเป็นในปัจจุบัน เพิ่มความสามารถก าลังพลด้านภาษาอังกฤษ ควรมีระบบค่าตอบแทนสวัสดิการ
และประกันภัยที่ดีให้ก าลังพลที่ออกปฏิบัติงาน ด้านสิ่งอุปกรณ์ ควรปรับสิ่งอุปกรณ์ให้ทันสมัย
และเหมาะสมกับการแพทย์ปัจจุบันโดยเฉพาะอุปกรณ์การส่งกลับ การกู้ชีพและภาวะฉุกเฉิน
การรักษาพยาบาลผู้ป่วยเบื้องต้น ควรปรับปรุงสิ่งอุปกรณ์ให้มีความทนทานและเหมาะสมกับงาน
ภาคสนาม เช่น อุปกรณ์ผ่านมาตรฐาน Military Grade น้ าหนักเบา ขนย้ายง่าย ใช้งานง่ายควรปรับปรุง
ระบบบ ารุงรักษา ระบบส ารองอุปกรณ์ ระบบเตรียมความพร้อมสิ่งอุปกรณ์ให้มีประสิทธิภาพ
ควรปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้มีความทนทานต่อสภาพแวดล้อม เช่น เต็นท์ลมโครงอลูมิเนียม
แข็งแรง น้ าหนักเบาตู้คอนเทนเนอร์ รถดัดแปลงโรงพยาบาลสนามเคลื่อนที่ พร้อมระบบปรับอากาศภายใน ข
เป็นต้น ควรจัดให้มีสิ่งอุปกรณ์สนับสนุนและด ารงชีพเป็นของตนเอง เช่น เครื่องก าเนิดไฟฟ้า
เครื่องก าเนิดออกซิเจน เครื่องท าน้ าดื่ม เครื่องท าน้ าประปา สิ่งอุปกรณ์ยังชีพ เป็นต้น ควรจัดให้มี
สิ่งอุปกรณ์ขนย้ายและยานพาหนะส าหรับโรงพยาบาลสนามให้เพียงพอ ด้านระบบการปฏิบัติงาน
ควรปรับปรุงระบบการแพทย์ทางยุทธวิธีให้มีความเชื่องโยงและสอดคล้องในแต่ละระดับของหน่วย
การแพทย์ เช่น ระบบส่งต่อข้อมูลผู้ป่วย ระบบเพิ่มเติมความสามารถการแพทย์ ระบบร้องขอการส่งกลับ
เป็นต้น ควรปรับปรุงระบบการจัดการ ระบบควบคุมคุณภาพทางคลินิก ระบบชีวอนามัย ระบบควบคุม
การติดเชื้อโรงพยาบาลสนามให้ได้มาตรฐานสากลและมีประสิทธิภาพ ควรจัดให้มีระบบสารสนเทศ
และการสื่อสารที่ทันสมัย เช่น โปรแกรมการจัดการโรงพยาบาลสนาม การสื่อสารดาวเทียม ระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ระบบ Telemedicine เป็นต้น ควรปรับปรุงระบบการเคลื่อนย้ายโรงพยาบาล
ให้มีประสิทธิภาพ ควรจัดให้มีระบบการฝึกอบรม คู่มือปฏิบัติงานที่ชัดเจนและสม่ าเสมอ ด้านอื่นๆ
ควรจัดให้มีการพัฒนาวิจัยโรงพยาบาลสนาม งบประมาณสนับสนุน อย่างต่อเนื่อง เพียงพอ
และสม่ าเสมอ ข้อเสนอแนะ การพัฒนาโรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทยในอนาคต คือ พัฒนา
โครงสร้างโรงพยาบาลสนามกองทัพบกไทย แบบ Medical Modular Concept ทั้งโรงพยาบาลสนาม
ระดับกองพลและระดับกองทัพ ร่วมถึงปรับปรุงสิ่งอุปกรณ์การแพทย์โครงสร้างพื้นฐาน อุปกรณ์
สนับสนุนและด ารงชีพให้ทันสมัยเหมาะสมกับการแพทย์ปัจจุบันและภารกิจภาคสนาม และพัฒนา
ระบบก าลังพล ระบบการปฏิบัติงาน ระบบการจัดการ ระบบสื่อสารและสารสนเทศ ระบบควบคุม
คุณภาพทางคลินิก ระบบการฝึกระบบพัฒนาและวิจัย ให้ได้มาตรฐานสากลมีความชัดเจนและสม่ าเสมอ
และจัดสรรงบประมาณสนับสนุนโรงพยาบาลสนามให้เพียงพอและสม่ าเสมอโดยครอบคลุม
ทั้งด้านก าลังพล สิ่งอุปกรณ์การฝึก และการพัฒนาวิจัย ส าหรับการวิจัย ในครั้งต่อไปควรพัฒนาและ
หารูปแบบโรงพยาบาลสนาม (Field Hospital Model) ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพดี
กับกองทัพบกไทยต่อไป
abstract:
ค
ABSTRACT
Title : Thai Army Field Hospital in the future
Field : Military
Name : Maj.Gen. Wutichai Isara, Ph.D. Course NDC Class 60
This research aims to analyze the mission of Thai Army Field Hospital.
The RTA Medical Department has the opportunity to respond to the mission and
study the future development of Army Field Hospital in the future. To be able to
perform tasks and effective. The scope of research are base on human resources,
organizations, field hospital equipment, important and necessary operating systems.
Use qualitative research methodology. Analysis of Strategic SWOT Analysis of Army
Field Hospital at present. Include in-depth interviews using open-ended questions
with key informants. Experience, training, education or job viewing on Thai Army Field
Hospital, USA Field Hospital And the United Nations Hospital. Specific For the comparative
analysis and development of the Army Field Hospital in the present and future 10 years
from February 1, 2011 to April 30, 2019. The research results on the comparison of
Army Field Hospital in Thailand today to US Army Field Hospital And the United
Nations Field Hospital. The advantage of RTA field hospital is that the system is not
complicated and is easier to move. The disadvantage is the lower capacity of health,
mental health, physical therapy and nutrition rates, medical equipment, communications,
infrastructure support. air conditioning, Maintenance system Management Systems,
Clinical Quality Control,Moving system are not modern and inferior. Training and
development of field hospital research is less frequent. The development of Army
Field Hospital in the future should adjust to be The Medical Module which focus on
capacity, personnel, basic medical care, health care, mental health. Medical technicians
should be increased comply with the performance of the position and also change
some of the current non-essential staffing levels. Provide clear and training, such as
specialized training, simulation training, improve English language skills are important.
The equipment should be modernized and can catch up the new technology. It is
particularly suitable for medical practitioners, especially in emergency response and
improve the equipment to be durable and suitable for field work, such as military
grade standard, light weight, easy to move, easy to use. Maintenance system and
infrastructure should be improved such as tents, wind turbines, lightweight aluminum
frames. Modified mobile field hospital should have their own equipment, such as a
generator, oxygen generator, drinking water supply. Equipment should be provided ง
for transportation and vehicles for the field hospital. Operating system Improve the
medical system to be tactical at each level of the medical unit such as patient referral
system, management system. Clinical quality control, health system, Inpatient hospital
control system to meet international standards and effective. Information systems
should be provided and modern communication, such as hospital field management
programs, satellite communications, telemedicine network. Other clear guidelines should
be developed for field hospitals. Budget support continuous for the development of
the Army field hospital in the future should base on the medical modular concept,
the level of field hospital and medical equipment infrastructure. Modernization
should appropriate for current medical and field missions. System development should
focus on operating , management, communication and Information, clinical quality
control and training . Development and Research to meet international standards is
clear and consistent. Funds to support the field hospital adequately and consistently.
For research In the next phase, we should develop and finally find a suitable field
hospital model for the Royal Thai Army.