Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาโครงการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูยาเสพติด เฉพาะพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิชัย ไชยมงคล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การพัฒนาโครงการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติด เฉพาะพื้นที่ ๙ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์และสังคมวิทยา ผู้วิจัย นายวิชัย ไชยมงคล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60 การศึกษาโครงการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติด เฉพาะพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอนกระบวนการ กลไก รูปแบบการด าเนิน โครงการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติด และการติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการ บ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดที่ได้รับทุนประกอบอาชีพ เพื่อเป็นข้อเสนอแนวทาง ในการพัฒนานโยบายด้านการติดตามดูแลช่วยเหลือผู้ผ่านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติด ยาเสพติดที่มีประสิทธิภาพ งานวิจัยชิ้นนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ควบคู่กับการ วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) เพื่อศึกษาถึงประสิทธิผลของโครงการสงเคราะห์ช่วยเหลือ ผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติด โดยวิธีการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม และสังเกตอย่างมีส่วนร่วมกับผู้ มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ ได้แก่ ผู้ได้รับทุนประกอบอาชีพในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ครอบครัว แกนน าชุมชน และหน่วยงานภาครัฐ รวมทั้งการศึกษา รวบรวม ข้อมูลทางเอกสาร สถานการณ์ผู้เสพ ยาเสพติดในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง นโยบาย มาตรการด้านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟู สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดของรัฐ และการเสนอรายงานแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัย พบว่า โครงการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติดพื้นที่ ภาคเหนือตอนล่าง เป็นโครงการน าร่องรองรับนโยบายของรัฐบาลตามแนวคิด ผู้เสพ คือ ผู้ป่วย โดยมี กระบวนการอย่างเป็นระบบเพื่อน านโยบายไปสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ ปัจจัยความส าเร็จที่ส่งผลต่อ การด าเนินโครงการสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติดพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ เป็นโครงการริเริ่มใหม่ ตามนโยบายของรัฐบาลเพื่อมุ่งหวังในการสร้างโอกาสแก่ผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟู ยาเสพติดซึ่งด้อยโอกาสในสังคมให้มีอาชีพ สร้างรายได้เลี้ยงดูตนเองและครอบครัว เพื่อลดโอกาสใน การกลับไปเสพติดซ้ า และส านักงาน ป.ป.ส. ในฐานะหน่วยงานอ านวยการทางนโยบาย สามารถ วางแผน จัดระบบการสนับสนุนที่มีประสิทธิภาพทั้งงบประมาณ ทรัพยากร รองรับอย่างเพียงพอ ประกอบกับการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาคีภาครัฐและองค์กรภาคประชาชน แกนน า ครอบครัว และตัวผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติด แต่กระนั้นเพื่อให้การแก้ปัญหาและเยียวยากลุ่มผู้เสพยาเสพ ติดในประเทศเกิดประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะ ต่อการพัฒนานโยบายด้านยาเสพติด จะต้อง ยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติดให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การ พัฒนากลไกเพื่อดูแลผู้ผ่านการบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติดควรเริ่มจากการยอมรับจากคนในครอบครัวและ แกนน าชุมชน ตลอดจนผลักดันให้ภาคธุรกิจเอกชน กองทุนสงเคราะห์ต่างๆ สนับสนุนช่วยเหลือผู้ผ่าน การบ าบัดฟื้นฟูยาเสพติดให้มีอาชีพ รายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และกลับอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข

abstract:

76 ABTRACT Research Title Development of the Social Support Programme for Drug Users after their Treatment and Rehabilitation in 9 provinces of the lower North Subject Strategy and Social Sciences Researcher Mr. Wichai Chaimongkhon Course: National Defense College Class : 60 This research on the social support programme for drug users after their treatment and rehabilitation in 9 provinces of the lower North of Thailand aims to study the process, mechanism and patterns used to implement the social support programme for drug users after treatment and rehabilitation who also received follow-up and after-care services, including occupation fund in order to make recommendations for improving effective policy on the follow-up and after-care services for drug users after treatment. This study uses a qualitative method together with a quantitative method to examine the effectiveness and efficiency of the said social support programme. The research tools used included interviews, group discussion and participatory observation of key relevant stakeholders in the programme, e.g. receivers of occupation fund in the lower northern provinces, families of community leaders, and public agencies. Furthermore, the researcher also collected and analysed document data of the situation of drug users in the area of 9 provinces of the lower North of Thailand, relevant state strategies and policies on drug treatment and rehabilitation. The findings of this research will be descriptively presented. The research findings disclose that the social support programme for drug users after treatment and rehabilitation in the lower northern areas is a pilot project initiated in response to the Royal Thai Government’s policy to consider drug users as patients. There was a systematic process to transfer the said policy into practice. Key factors that contributed to the success in implementing the programme comprised that this programme was initiated in accordance with the policy of the current Government with the intent to provide opportunities for drug users after their treatment as vulnerable people to have occupation to earn a living for themselves and their families, reducing the chance of recidivism and their falling back to drugs. As a consequence, the Office of the Narcotics Control Board (ONCB) as a focal agency on drug policy was able to formulate workplans and set up effective support systems with sufficient budget and resources. Furthermore, the participation from partner agencies from public sector and private sector, community leaders, family and the drug users themselves was also found to be an important enabling factor. Nevertheless, to increase the effectiveness of the social support programme for drug users after their treatment, the research has recommendations for policy development as the following: the quality of life of the drug users after their treatment shall be improved to be better; mechanism for providing follow-up and after-care services be developed, starting from understanding and welcome from their family members and community leaders; lastly, the private sectors and social welfare funding agencies be more encouraged to take part in supporting this group of drug users after their treatment to have employment and income, better quality of life and peaceful return to our society.