เรื่อง: ยุทธศาสตร์การลดผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งอย่างยั่งยืนของลุ่มน้ำเจ้าพระยา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี เรืองวิทย์ ศรีนวลนัด
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์การลดผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งอย่างยั่งยืนของลุ่มน้้าเจ้าพระยา
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลอากาศตรีเรืองวิทย์ ศรีนวลนัด หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ 60
ประเทศไทยประสบกับปัญหาอุทกภัยและภัยแล้งมาโดยตลอด ทั้งนี้มีผลมาจาก
สภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ จากการกระท้าของมนุษย์ และจากการบริหารจัดการด้านการลด
ผลกระทบจากภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ขาดประสิทธิภาพ ส่งผลท้าให้เกิดความเดือดร้อนของประชาชน
ความเสียหายทางเศรษฐกิจ และความไม่มั่นคงในการด้ารงชีวิตอยู่อย่างปลอดภัย ดังจะเห็นได้จาก
มหาอุทกภัยที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ.2554 ได้สร้างความเสียหายอย่างรุนแรงในพื้นที่ส่วนใหญ่ของ
ประเทศไทย โดยเฉพาะบริเวณภาคกลางในเขตลุ่มน้้าเจ้าพระยา เกิดความเสียหายนับเป็นมูลค่ามหาศาล
และในช่วงเวลาต่อมา ประเทศไทยเกิดภาวะวิกฤติภัยแล้งอย่างรุนแรง ในปี พ.ศ. 2558/59 ส่งผล
กระทบให้เกิดความเสียหายในทิศทางตรงกันข้าม เป็นมูลค่าสูงอีกเช่นเดียวกัน การวิจัยครั้งนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ภัยพิบัติอันเนื่องมาจากน้้า (อุทกภัย, ภัยแล้ง) ในลุ่มน้้าเจ้าพระยา
และการปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องในโครงการพัฒนาลุ่มน้้าเจ้าพระยา และศึกษาปัญหา
ข้อขัดข้องอันเกิดจากผลกระทบของภัยพิบัติอันเนื่องมาจากน้้าในลุ่มน้้าเจ้าพระยา เพื่อน้ามาก้าหนด
ยุทธศาสตร์การลดผลกระทบอันเกิดจากอุทกภัยและภัยแล้ง ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การบริหาร
จัดการน้้า ในส่วนของลุ่มน้้าเจ้าพระยา ผลการศึกษาพบว่า พื้นที่ลุ่มน้้าเจ้าพระยาเป็นที่ราบลุ่มรองรับน้้า
หลากมาจากทางภาคเหนือ สภาพอากาศอยู่ในเขตมรสุม มีฝนตกชุก และได้รับอิทธิพลจากปรากฏการณ์
El Nino และ La Nina ท้าให้เกิดสภาวะฝนตกมากกว่าปกติ สลับกับสภาวะฝนแล้งเป็นวงรอบทุก 3 –5 ปี
ในส่วนพื้นที่ทางภาคเหนือมีการตัดไม้ท้าลายป่าในอดีต ท้าให้สภาพป่าต้นน้้าเสื่อมโทรมขาด
ประสิทธิภาพในการดูดซับและชะลอน้้า ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ในลุ่มน้้าเจ้าพระยาที่รองรับน้้าหลาก
ในปริมาณมาก ประกอบกับประสิทธิภาพในการเก็บกักน้้าของเขื่อนและอ่างเก็บน้้าที่มีอยู่สามารถ
เก็บกักน้้าได้จ้ากัด อีกทั้งยังไม่สามารถก่อสร้างแหล่งเก็บกักน้้าขนาดใหญ่เพิ่มเติมได้ ถึงแม้ว่าจะมี
ปริมาณน้้าฝนที่ตกสะสมตลอดทั้งปี มากเกินกว่าปริมาณน้้าที่ต้องการใช้ส้าหรับการเกษตรกรรม
การอุปโภค – บริโภค การผลิตอุตสาหกรรม การรักษาระบบนิเวศ และการคมนาคมขนส่งทางน้้า
แต่ก็ไม่สามารถเก็บกักน้้าให้เพียงพอ และขาดระบบชลประทานที่ครอบคลุมพื้นที่เกษตรกรรม
ท้าให้เกิดปัญหาน้้าท่วมเมื่อฝนตกมาก และขาดแคลนน้้าเมื่อฝนน้อย เป็นประจ้า การบริหารจัดการน้้า
ที่มีหน่วยงานรับผิดชอบแตกต่างกัน แยกตามหน้าที่ และตามพื้นที่ โดยขาดการบูรณาการด้านข้อมูลน้้า ข
ด้านการประสานการปฏิบัติ ด้านการแบ่งปันทรัพยากร และด้านการแก้ปัญหาในสภาวะวิกฤติท้าให้
ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างยั่งยืน ในปัจจุบัน ได้มีการจัดท้ายุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรน้้า
และมีการปรับโครงสร้างการบริหาร มีการจัดตั้งส้านักงานทรัพยากรน้้าแห่งชาติขึ้นมา เพื่อเป็น
องค์กรรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าในภาพรวมอย่างบูรณาการ โดยได้มีการ
จัดท้ายุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้้า ของประเทศไทย ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้ จึงมุ่งเน้นที่จะถ่ายทอด
การจัดท้ายุทธศาสตร์การลดผลกระทบจากอุทกภัยและภัยแล้งอย่างยั่งยืนของลุ่มน้้าเจ้าพระยา
ให้สามารถน้าไปปฏิบัติได้ ซึ่งพบว่า การพยากรณ์สภาพภูมิอากาศที่แม่นย้า และการประเมินสถานการณ์
อย่างถูกต้อง โดยใช้ข้อมูลจากคลังน้้าแห่งชาติ เพื่อน้ามาจัดท้าแผนการปฏิบัติทั้งในระยะสั้น และ
ระยะยาว มีความส้าคัญอย่างยิ่ง ในการเผชิญกับสภาวะวิกฤติ การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการด้านการบริหาร
จัดการทรัพยากรน้้า สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างการบูรณาการแผนงานของหน่วยงานต่างๆ
ร่วมกัน การประสานงานท้าความเข้าใจระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
ท้าให้เกิดการรับรู้สถานการณ์ มีการวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกัน จะสามารถลดผลกระทบอันเกิด
จากอุทกภัยและภัยแล้งได้อย่างเห็นผลสัมฤทธิ์ยั่งยืน
abstract:
Abstract
Title : Sustainable strategies to reduce the impact of floods and drought of
the Chao Phraya River basin
Field : Strategy
Name: AVM Ruangwit Srinualnad Course NDC Class 60
Thailand often encounters the problems from flood and drought. This is due
to the climate change, irresponsible human actions and the inefficient management to
reduce the impact from natural disasters. The people suffered as a consequence of
economic lost and unsecured living conditions. As seen from the 2011 floods that
caused severe damage throughout Thailand. Especially in the central region in the Chao
Phraya River basin, the damage cost was enormous. On the other hand, in the later
period, Thailand was devastated from drastically drought crisis in 2015/2016. The
damage cost was also high. This research objective is to study the disaster situation
caused by water (flood and drought) in the Chao Phraya River basin and the practices of
involved government agencies in the Chao Phraya River Basin Development Project.
Another objective is to study the problems caused by the impact of water disasters in
Chao Phraya River basin, to design a strategy to reduce the impact of flood and drought
in line with the water management strategy of the Chao Phraya River Basin. The study
found that the Chao Phraya River Basin is a lowland plain that most of water from the
north must pass through. It locates in the monsoon region with seasonal heavy rain falls.
The region is also influenced by the El Niño and La Nina phenomenon, resulting in more
precipitation alternate with drought conditions every 3 to 5 years. In the northern areas,
the forest is in decadent condition from deforestation in the past which caused water
absorption and depletion abilities of the forest less efficient. Therefore, large quantities
of water pass through the Chao Phraya River basin. The existing dams and reservoirs
capacity is limited. It is not possible to construct additional larger reservoirs. Although
the amount of rain falls throughout the year exceeds the amount of water needed for
agriculture, consumption, industrial production, sustaining ecological system and water transport but existing system cannot retain enough water. The lack of irrigation system
covering the agricultural areaoften causes flood problems during heavy rain falls and drought
when lack of rain falls. There are many different agencies involve in water management,
totally separated by function and area. The lack of integrated water information, operation
coordination, resource sharing and the crisis management sharing make problems solving
unsustainable. Currently, the Office of National Water Resources was established to
handle overall integrated management of water resources. Water management strategies
of Thailand have been developed. This research focuses on conveying the sustainable
strategies to reduce the impact of flood and drought of the Chao Phraya River Basin so
that it can be practically implemented. The research found that the accuracy of weather
forecast and precise situation assessment, using data from the National Hydroinformatics
and Climate Archives, to implement a short-term and long-term action plan are crucial.
To face the crisis, establishment of Water Resources Management Center has improved
efficiency. The integration of the plans from various agencies and coordination between
the government, the private sector and the public has created better situation
awareness. The integrated plan to solve the problems can help reducing the impact of
floods and droughts and the achievement will be sustainable.