เรื่อง: แนวทางการกำหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี รักเกียรติ พันธุ์ชาติ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการก าหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติให้สอดคล้องกับ
สภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป
ผู้วิจัย พลตรีรักเกียรติ พันธุ์ชาติ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
ต ำแหน่ง ผช.หน.ฝสธ.ประจ ารอง ปล.กห.
การพัฒนาของประเทศที่ผ่านมานับตั้งแต่แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ ๑ จนถึงปัจจุบัน เริ่มใช้
แผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ ๑๒ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ประเทศไทยมีพัฒนาการมา
อย่างต่อเนื่องภายใต้สถานการณ์ เงื่อนไข และการเปลี่ยนแปลงในมิติต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ทั้งภายในและภายนอกประเทศ การจัดท าแผนพัฒนา ฯ มีการปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ที่มา
กระทบต่อสถานะทางเศรษฐกิจของประเทศ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๐๔ – ๒๕๐๙) เน้นการสร้าง
โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เช่น ถนน ระบบชลประทาน ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๐ – ๒๕๑๔)
เน้นการพัฒนาที่กระจายไปยังภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ โดยเฉพาะถิ่นทุรกันดาร โดยการเร่งรัด
พัฒนาชนบทที่ห่างไกลความเจริญ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๑๕ – ๒๕๑๙) เน้นการรักษาเสถียรภาพ
ทางเศรษฐกิจ ยกระดับการผลิต เร่งรัดการส่งออก ลดอัตราการเพิ่มของประชากร การกระจายรายได้
และบริการสังคม ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๐ – ๒๕๒๔) เน้นการเสริมสร้าง ฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ
ขยายการผลิตภาคการเกษตร ปรับโครงสร้างการผลิตภาคอุตสาหกรรม สร้างงานให้กับภูมิภาคเพื่อ
การกระจายรายได้ ปรับปรุงการบริหารและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาแหล่งพลังงาน และการ
รักษาดุลภาพของดุลการค้าและดุลการช าระเงิน ฉบับที่ ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๕ – ๒๕๒๙) เน้นการรักษา
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจการเงินของประเทศ ก าหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนาโดยเฉพาะพื้นที่ใน
ชนบท พื้นที่ชายฝั่งตะวันออก พื้นที่เมืองหลัก ดึงภาคเอกชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
สร้างวินัยทางการเงิน เร่งระดมเงินออม ปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๖
(พ.ศ. ๒๕๓๐ – ๒๕๓๔) เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพทั้งการเงินและการคลัง เปิด
โอกาสให้ภาคเอกชนให้เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศมากขึ้น เร่งพัฒนาฝีมือแรงงานและ
เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ทบทวนบทบาทภาครัฐ เริ่มแผนพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แผนพัฒนารัฐวิสาหกิจ ปรับโครงสร้างการผลิตและการตลาด เร่งพัฒนาชนบทและกระจายความเจริญ
สู่ภูมิภาค ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕ – ๒๕๓๙) เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพ การ
กระจายรายได้ การพัฒนาภูมิภาคและชนบท พัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม ปรับปรุงกฎหมาย
ระบบราชการและรัฐวิสาหกิจ ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๔๔) ห้วงเวลาของการพัฒนาตามแผนนี้
เป็นห้วงเวลาที่ประเทศประสบกับปัญหาทางเศรษฐกิจ จึงต้องรีบแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นให้หมดไปอย่าง
รวดเร็ว โดยการฟื้นฟูเศรษฐกิจ แก้ปัญหาการว่างงานและความยากจน นอกจากนี้แผนพัฒนาฉบับนี้
นับเป็นจุดเปลี่ยนส าคัญของการวางแผนพัฒนาประเทศที่ให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมของ
ทุกภาคส่วนในสังคมมุ่งเน้นให้ “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาเป็น
บูรณาการแบบองค์รวม เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่สมดุล ฉบับที่ ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๕ – ๒๕๔๙) ได้อัญเชิญ
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาน าทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคู่ไปกับกระบวนทัศน์การพัฒนาแบบบูรณาการเป็นองค์รวมที่มี“คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” เน้นการฟื้นฟู
เศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพ และมีภูมิคุ้มกัน สร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจฐานราก แก้ปัญหา
ความยากจน การเพิ่มศักยภาพและสร้างโอกาสในการพึ่งพาตนเองให้กับประชาชน ฉบับที่ ๑๐
(พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ยังคงน้อมน า “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวทางปฏิบัติ
และให้ความส าคัญกับการพัฒนาที่ยึด “คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนา ฯ
ฉบับที่ ๘ – ๙ เน้นการพัฒนาที่สมดุลทั้งคน สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม มีการเตรียม “ระบบ
ภูมิคุ้มกัน” เสริมสร้างความเข้มแข็งของทุนที่มีอยู่ในประเทศ บริหารจัดการความเสี่ยงให้พร้อมรับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศ เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน และความ
อยู่เย็นเป็นสุขของคนไทยทุกคน น าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในทุกภาคส่วน
สร้างประเทศให้เข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันสามารถปรับตัวรับกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) เน้นการสร้างภูมิคุ้มกันในประเทศให้เข้มแข็งขึ้นให้แก่ครอบครัว
ชุมชน สังคม และประเทศ โดยใช้แนวคิดและทิศทางการพัฒนาประเทศสู่ความยั่งยืนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเตรียมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้สามารถ
ปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม น าทุนของประเทศที่มีศักยภาพจาก
๓ ทุน ทั้งทุนสังคม ทุนเศรษฐกิจ และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาเป็น ๖ ทุน ได้แก่
ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และทุนทาง
วัฒนธรรมมาใช้ประโยชน์อย่างบูรณาการและเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะการสร้างฐานทางปัญญาเพื่อเป็น
ภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมไทยเป็นสังคมที่มีคุณภาพ ก้าวสู่สังคมและเศรษฐกิจสีเขียวที่มีแบบ
แผนการผลิตและบริโภคอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์และความมั่นคงที่เกิดขึ้นทั้ง
ภายในประเทศและในโลกท าให้เกิดปัญหาความมั่นคงที่หลายประเทศต้องเผชิญและมีอยู่หลากหลาย
มิติไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความมั่นคงแห่งดินแดน การแพร่กระจายของอาวุธที่มีอ านาจท าลายล้างสูง
การท าลายสิ่งแวดล้อม วิกฤตการณ์พลังงาน ปัญหาอุณหภูมิโลกเปลี่ยน ปัญหาการก่อการร้ายที่แพร่
ขยายไปทั่วโลก จากสถานการณ์ปัญหาความมั่นคงต่างๆ ที่ประเทศทั้งหลายรวมทั้งประเทศไทยก าลัง
เผชิญอยู่นี้ ประกอบกับในปัจจุบันประเทศไทยประกาศใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) แล้ว ผู้วิจัยได้ติดตามสถานการณ์ความมั่นคงที่เกิดขึ้นมาโดย
ล าดับ จึงต้องการที่จะท าการศึกษาวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจใน
ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมทางยุทธศาสตร์ในบริบทใหม่ที่สัมพันธ์กับวิถีชีวิตความ
เป็นอยู่ และทรัพยากรของประเทศ และเพื่อแสวงหาและน าเสนอแนวทางการแก้ปัญหาความมั่นคงที่
สังคมไทยก าลังเผชิญ ตลอดจนเผยแพร่ความรู้และสร้างความเข้าใจให้แก่สังคมไทยทั้งในส่วนของ
ภาครัฐและสาธารณชนในประเด็นความมั่นคงใหม่ที่เกิดขึ้น เช่น โลกาภิวัตน์ก่อการร้าย และความ
มั่นคงด้านพลังงานของประเทศ ตามกรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
abstract:
Abstract
Title Guidelines for defining national economic and social development
plans in line with changing strategic environment.
Field Strategy
Name Major General Rakkiat Panchart Course NDC. Class 60
The development of the country since the first development plan to the
present. The 12th National Economic and Social Development Plan Thailand has
continued to develop under conditions, conditions and changes in dimensions. Occur
both inside and outside the country. The development plan has been adjusted to
the situation affecting the economic status of the country. No.1 (BE 2504 - 2509)
focused on building economic infrastructure such as irrigation road No. 2 ( From 1967
to 1971), focusing on development that spread to different regions of the country,
especially the wilderness. By accelerating rural development, the third edition (1972
- 1976) focused on stabilizing the economy. Elevate production Expedited export
Reduce the population growth rate. Income distribution and social services No. 4
(1977 - 1981) focused on strengthening. Economic recovery of the country. Expansion
of agricultural production Restructuring of industrial production Create jobs for the
region for income distribution. Improve management and use of natural resources.
Development of energy sources The balance of trade balance and balance of
payments balance (1982 - 1986) stressed the stability of the country's financial and
economic stability. Targeted areas for development, especially rural areas. East Coast
area Main city area Pull the private sector to take part in national development.
Financial discipline Accelerate savings. Restructuring of agricultural and industrial
production No. 6 (1987 - 1991) focused on stable economic growth, both financial
and fiscal. The opportunity for the private sector to participate in the development
of the country. Accelerate skill development and enhance quality of life. Review of
government roles Plan for Science and Technology Development State Enterprise
Development Plan Restructuring and Marketing Accelerated Rural Development and
Regional Diversification 7 (1992 - 1996) Focused on Stable Economic Growth Income
distribution Regional and rural development Improve quality of life and the
environment. Update the law The development of this plan is a time when the
country suffers from economic problems. To solve the problem quickly. By
economic recovery Solve unemployment and poverty. In addition, this development 2
plan is a major turning point in national development planning, with a focus on the
participation of all sectors in society. "People-centered development" modifies how
development is. Holistic integration In order to achieve a balanced development, No.
9 (2002 - 2006) has called the "Sufficiency Economy Philosophy" as a guiding
philosophy in the development and administration of the country. Along with the
integrated development paradigm is holistic. "People-centered development" focuses
on stabilizing the economy. And immune. Strengthen the foundations of the
economy. Solve the problem of poverty Increasing potential and creating
opportunities for self-reliance for people No. 10 (2007 - 2011) continues to lead the
"Sufficiency Economy Philosophy" as a guideline. And attach importance to the
development of the anchor. The People's Development Center continues the
development plan No. 8 - 9, focusing on balanced development of people, society,
economy and environment. It is preparing the "immune system" to strengthen the
existing capital in the country. Risk management is influenced by changes both inside
and outside the country. To strive for sustainable development. And the peace of
the Thai people. Apply philosophy of sufficiency economy to apply in all sectors.
Create a strong country. No. 11 (2012 - 2019) focuses on strengthening the immunity
of the nation to families, communities, societies and countries, using the concepts
and directions of national development. To sustain the philosophy of Sufficiency
Economy. To prepare people, society and the country's economy to adapt to
changing impacts. Take capital from potential countries from 3 capitals, capital,
society, capital, economy and capital, natural resources and environment to 6
capitals: human capital, capital, society, capital, capital, finance Natural Resources
and Environment And cultural capital to integrate and integrate. Especially to build
the intellectual base to be immune to people and Thai society is a quality society.
Move to a green and sustainable economy with sustainable and environmentally
friendly production and consumption.
However, today Strategic and security changes both domestically and
internationally have caused security problems in many countries. Whether it is a
matter of territorial security. The spread of weapons of mass destruction.
Environmental destruction Energy crisis Global warming problem Terrorism spread
around the world. From the situation of security problems. This is the country that
Thailand is facing. At present, Thailand has adopted the 12th National Economic and
Social Development Plan (2060 - 2564). It would like to study the issues related to
the National Economic and Social Development Plan in line with the changing
strategic environment. To gain insights into issues related to the strategic
environment. In a new context related to the way of life. And the country's 3
resources. And to seek and offer solutions to security problems.
Thai society is facing As well as disseminating knowledge and understanding to the
public in both the public and public sectors on emerging issues such as globalization,
terrorism. And the energy security of the country. According to the National
Economic and Social Development Plan