เรื่อง: แนวทางการดูแลสุขภาพของศตวรรษิกชนในไทยมีอายุยืนยาวกว่า 100 ปี
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, ดร. มุกดา พัฒนะเอนก
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการดูแลสุขภาพของศตวรรษิกชนในไทยมีอายุยืนยาวกว่า 100 ปี
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย ดร. มุกดา พัฒนะอเนก หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60
ภาวะสุขภาพของประชากรในประเทศ เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความมั่นคงด้านความ
เป็นอยู่และเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากประเทศต้องการประชากรคุณภาพที่สามารถสร้างผลิตผล
และขับเคลื่อนการพัฒนาด้านอื่น ๆ ในประเทศได้
ในประเทศที่พัฒนาแล้ว หรือในองค์กรชั้นน าหลายๆแห่งในประเทศ ได้เล็งเห็นโอกาส
ในการดึงประชากรคุณภาพในวัยเกษียณมาร่วมงานเพื่อขับเคลื่อนประเทศหรือองค์กรนั้น ๆ แต่
บางครั้งพบอุปสรรคด้านกายภาพ เช่น ผู้สูงอายุวัยเกษียณมักมีโรคประจ าตัวที่เป็นอุปสรรคต่อการ
ท างาน จึงเป็นความท้าทายในแง่การดูแลด้านสาธารณสุขว่า ท าอย่างไรให้ประชากรก่อนเกษียณ
เตรียมพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเองก่อนเกิดโรคที่ป้องกันได้ เพื่อยืดระยะเวลาสร้างงานหรือ
ขับเคลื่อนองค์กรโดยบุคลากรนั้นอย่างต่อเนื่องนานขึ้น ซึ่งเราสามารถน าความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
ชะลอวัย หรือเวชศาสตร์ป้องกันมาประยุกต์ใช้ได้
การศึกษานี้เน้นส ารวจปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสุขภาพของประชากรวัยท างานที่มีบทบาท
ด้านนโยบายสู่สังคมสูงวัย อันได้แก่ ข้าราชการในกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงพัฒนาสังคมและ
ความมั่นคงของมนุษย์ ผลการส ารวจพบว่า กลุ่มตัวอย่างจัดเป็นผู้มีสุขภาพแข็งแรงในปัจจุบัน สามารถ
ดูแลตนเองและท างานที่ขับเคลื่อนสังคมได้ เป็นผลจากทัศนคติด้านสุขภาพที่ดี มองเห็นความส าคัญ
ของการดูแลสุขภาพ และมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ รวมถึงมีสุขภาพจิตที่ดี ส่วนภาวะที่อาจเกิดผล
ลบต่อสุขภาพของกลุ่มตัวอย่างที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ ได้แก่ เพศชาย อาชีพ ภูมิล าเนา
พันธุกรรมจากบิดามารดา ส่วนปัจจัยที่ปรับเปลี่ยนได้ (modifiable risk) ได้แก่ น้ าหนัก ความถี่ของ
การออกก าลังกาย เพิ่มกิจกรรมกลางแจ้งหรือนอกบ้านและกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวร่างกาย เพิ่ม
สัดส่วนการรับประทานผัก ลดการดื่มกาแฟ ลดปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ต่อสัปดาห์ การลดการใช้
ยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะ การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และไวรัสตับอักเสบ การลดความเสี่ยงกระดูก
พรุน และการใช้เข็มขัดนิรภัยทุกครั้งเมื่อขับขี่หรือโดยสารยานพาหนะ
abstract:
Abstract
Title: The Mental Health Care For Elderly Person (Over 100 Years) in
Thailand
Field Social-Psychology
Name Dr. Mukda Pattanaanek Course NDC Class 60
Health status of the population in the country. The factors affecting stability of
social life and the economy of the country. Because the country needs a quality population
that can create and propel development in other countries.
In the developed countries, or in many of the leading organizations in the
country, has a chance to pull the population quality in the retirement event to propel the
countries or organizations that are sometimes encountered physical barriers. Such as elderly
retirement often have Comorbidities that hinders the work, so it is a challenge in terms of
health care that how to prepare the population before retiring to care for their health before
the disease is preventable. To create or extend an enterprise driven by personnel that
constantly longer. Which we can apply anti-aging science knowledge or application of
preventive medicine.
This study focused on exploring the factors that affect the health of people of
working age who have a role in policy towards older societies including government officials
of Ministry of Social Development and Human Security. The survey found that The
organization has a strong health at present. Can take care of themselves and work driven
society. As a result of the attitude in good health, the importance of health care. And
knowledge in health care. Including good mental health. The conditions that may adversely
affect the health of the sample can not be changed include male professional domicile of
the genetic parents. The modifiable risk were weight, frequency of exercise, outdoor activities
or outside and activities to the movement of the body, increase the proportion of
vegetables, reducing drinking coffee, reduce the quantity of alcohol per week, Reducing the
use of painkillers, antibiotics, vaccines against influenza and hepatitis and to reduce the risk
of osteoporosis and theuse of seat belts, and every time when driving or passenger vehicles.