เรื่อง: ยุทธศาสตร์การสร้างการรับรู้ผ้าไหมไทย และชุดไทยพระราชนิยม ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง มณีรัตน ธรรมปยะ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2560
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์การสร้างการรับรู้ ผ้าไหมไทย ชุดไทยพระราชนิยม ในสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นาง มณีรัตน์ ธรรมปิยะ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๐
การวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การสร้างการรับรู้ ผ้าไหมไทย ชุดไทยพระราชนิยม ในสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เพื่อศึกษาการด าเนินการในการสร้างการรับรู้ และวิเคราะห์
ปัญหา และอุปสรรคของการด าเนินการและการสร้างการรับรู้ผ้าไหมไทยและชุดไทยพระราชนิยม
และเพื่อก าหนดเป็นยุทธศาสตร์การสร้างการรับรู้ผ้าไหมไทย และชุดไทยพระราชนิยม ในสมเด็จ
พระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ให้เป็นที่รู้จักต่อประชาชนชาวไทย และชาวต่างชาติสืบต่อไป
ในอนาคตการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)
ผลการวิจัยพบว่า จากการด าเนินการที่ผ่านมาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการสร้าง
การรับรู้มีปัญหาและอุปสรรคที่ส าคัญมาจากคุณภาพของผ้าไหมไทย ซึ่งมาจากกระบวนการผลิต และ
เกษตรกรกลุ่มทอผ้าไหมที่ลดจ านวนลง นอกจากนี้การถ่ายทอดความรู้ไปสู่เกษตรกรรุ่นใหม่ ที่ขาดการ
บริหารจัดการความรู้ ระบบสารสนเทศ นอกจากนี้เยาวชนรุ่นใหม่ไม่นิยมในการแต่งกายด้วย
ผ้าไหมไทย และชุดไทยพระราชนิยม ซึ่งในการก าหนดยุทธศาสตร์สร้างการรับรู้ ผ้าไหมไทย ชุดไทย
พระราชนิยม ได้แบ่งเป้าหมายออกเป็น ๓ กลุ่ม คือ เกษตรกร นักท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไปและ
เยาวชนไทย โดยได้ก าหนดเป็น ๓ ยุทธศาสตร์ย่อย ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การสร้างการรับรู้ให้เกษตรกร ด้วยการอนุรักษ์ สืบสาน รักษาภูมิ
ปัญญาท้องถิ่น ผ้าไหมไทย อย่างยั่งยืน ใช้กลยุทธ์ในการด าเนินการโดยการพัฒนาหลักสูตรการทอผ้า
ให้มีมาตรฐาน โดยได้รับการรองรับจากสถาบันการศึกษา และ อนุรักษ์ภูมิปัญญาการผลิตผ้าไหมทอมือ
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การสร้างการรับรู้ให้นักท่องเที่ยว ด้วยแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและ
วัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ้าไหมไทย ใช้กลยุทธ์ในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ้าไหมไทย และสร้างเอกลักษณ์ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมของชุมชน และแหล่งท่องเที่ยว
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างการรับรู้ให้ประชาชน และเยาวชนไทย ด้วยการประชาสัมพันธ์
เผยแพร่ ผ้าไหมไทย ชุดไทยพระราชนิยม ในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ มีกลยุทธ์ใน
การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ, การจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ และ
การใช้สื่อมวลชน ทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ และการเผยแพร่ความรู้ ผ้าไหมไทย ชุดไทย
พระราชนิยม ผ่านระบบการศึกษา
ข้อเสนอแนะ การสร้างการรับรู้ควรมีการบูรณาการ ปรับปรุงบทบาทของหน่วยงาน
ภาครัฐให้มีความเหมาะสมในงานผ้าไหมตั้งแต่ ต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า เช่น การส่งเสริมอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อเส้นไหม ไปจนถึงการเผยแพร่ ผ้าไหมไทย ชุดไทยพระราชนิยม ผ่านระบบ
การศึกษา, สื่อสารมวลชน และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้นข
abstract:
Abstract
Title: The strategic of creating awareness of Thai silk and Thai royal
dress of Her Majesty Queen Sirikit
Field: Strategic
Name: Mrs.Maneerat Thampiya Course NDC class 60
This research, the strategic of creating awareness of Thai silk and Thai royal dress of
Her Majesty Queen Sirikit, is for studying action and analyzing problem and obstacle as well as
strategic planning of creating awareness of Thai silk and Thai royal dress of Her Majesty Queen
Sirikit to be known among Thai people and foreigners in the future. And this research is a
qualitative research
The result of the research is found that, with former actions of related organizations
to create the awarenedd, a quality of Thai silk which it caused from production process and a
number of agriculturists which is decreasing continually are the main important problems and
obstacles. Furthermore, there is lacking of knowledge and information management system
which affects to the knowledge transfer to new generations of agriculturists ineffectively. In
addition, the dress of Thai silk and Thai royal dress are not popular among young generations.
For the strategic planning of creating awareness of Thai silk and Thai royal dress, targets are
distinguished to 3 groups; agriculturists, tourists, and Thai people. The strategic is set to 3 sub
strategies also.
First strategic: Creating awareness of the agriculturists by conserving, carrying on, and saving
local wisdom about Thai silk to be sustainable. Strategy of this process is developing and
standardizing the weaving course certified by the educational institution and the institution of
wisdom conservation of handmade silk.
Second strategic: Creating awareness of the tourists with cultural and agricultural tourist
attractions and local wisdom of Thai silk as well as. Strategy of this process is developing the
tourist attractions and building on identity of silk product in that community.Third Strategic: Creating awareness of Thai people by publicizing, publishing Thai silk and Thai
royal dress of Her Majesty Queen Sirikit. Strategy of this process is using information technology
system, public relations activity, and both of domestic and abroad mass media to propagate
Thai silk and Thai royal dress through the education system.
Suggesting: In the process of creating awareness, there should be an integration and the role
improvement of government agencies to be suitable for silk words such as an environmental
conservative encouragement which affects to silk thread along with the education system, the
mass communication, and the information technology system, etc.