Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนานวัตกรรมด้านช่องทางการจำหน่ายของข้าวsอมมะลิไทย ชนิดพิเศษ (Premium Quality) โดยอาศัยสถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรมเพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรไทย ให้มีความยั่งยืน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ภูสิต รัตนกุลเสรีเริงฤทธิ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2560
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพัฒนานวัตกรรมด้านช่องทางการจ าหน่ายของสินค้าข้าวโดยอาศัย สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรมเพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรไทย ให้มีความยั่งยืน กรณีศึกษาข้าวหอมมะลิไทยชนิดพิเศษ (Premium Quality) ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายภูสิต รัตนกุล เสรีเริงฤทธิ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 60 ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นผู้ส่งออกข้าวหอมมะลิไทยชนิดพิเศษ (Premium Quality) รายเดียวของโลกในปัจจุบัน แต่การที่จะรักษาความเป็นผู้น าการส่งออกข้าวข้าวหอมมะลิให้เป็นอันดับ หนึ่งไว้ให้นานที่สุดนั้น นอกเหนือจากพัฒนาคุณภาพข้าวหอมมะลิแล้วการพัฒนานวัตกรรมด้านช่อง ทางการจ าหน่ายของข้าวหอมมะลิไทยก็เป็นปัจจัยส าคัญด้วยเช่นกัน ดังนั้น ในเอกสารวิจัยในครั้งนี้ ได้ มีการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Study) จากเอกสารที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งแผนแม่บท ยุทธศาสตร์ นโยบาย แนวทาง มาตรการ และโครงการของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องใน ปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาโครงการที่ส าคัญในการพัฒนาสินค้าที่อยู่ภายใต้กระทรวงพาณิชย์ และกระทรวงอื่นๆ เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์และผลการ วิเคราะห์ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Study) โดยอาศัยการสัมภาษณ์โดยมีแบบสอบถามกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ส าคัญ (Key Informants) จากหน่วยงานส าคัญที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและเอกชน จ านวน 4 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. ผู้อ านวยการกองบริหารการค้าข้าว กรมการค้าต่างประเทศ 2. ผู้อ านวยการกลุ่มงาน สินค้าเกษตรและอาหาร ส านักส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการค้าระหว่าง ประเทศ 3. นายกสมาคมผู้ค้าข้าวไทย และ 4. ผู้บริหารสมาคมโรงสีข้าวไทย เพื่อน าไปสู่การก าหนดแนว ทางการพัฒนานวัตกรรมด้านช่องทางการจ าหน่ายของข้าวหอมมะลิไทยชนิดพิเศษโดยอาศัยสถาบัน ส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรมเพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกรไทยให้มีความยั่งยืน ทั้งนี้ แนวทางการ พัฒนานวัตกรรมด้านช่องทางการจ าหน่ายของข้าวหอมมะลิไทยชนิดพิเศษดังกล่าว ประกอบด้วย 2 ระยะ คือ 1. ระยะสั้น (1-3 ปี) สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม (APi) ควรมีการปรับเพิ่ม โครงสร้างองค์กรและภารกิจในปัจจุบันเพื่อให้เป็นองค์กรที่เน้นการทางานเชิงรุก (Proactive) มากยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับการมุ่งเน้นการใช้หลักการตลาดน าการผลิต (Demand driven)และระยะยาว (4-10 ปี) จะต้องมีการศึกษาแนวทางการบริหารจัดการ APi ให้อยู่ในรูปแบบมูลนิธิต่อไปหรือจะปรับเปลี่ยนองค์กร ในรูปแบบอื่น (องค์การมหาชน) ควรจะมีการการศึกษาแนวโน้มตลาดสินค้าข้าวหอมมะลิเชิงนวัตกรรม การสนับสนุนผู้ประกอบการน านวัตกรรมไปต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่า รวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมตลาด และ การประชาสัมพันธ์สินค้าข้าวหอมมะลิเชิงนวัตกรรม วางกรอบและแนวทางในการวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมด้านช่องทางการจาหน่ายของข้าวหอมมะลิไทยชนิดพิเศษ (Premium Quality) ร่วมกับหน่วย อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

abstract:

ABSTRACT Title : Guidelines for developing innovative marketing channels to increase farmer’s income more sustainably through the Institute for Agricultural Product Innovation (APi) : Case study of Thai Hom Mali Rice (Premium Quality) Field : Economics Name: Mr.Phusit Ratanakul Sereroengrit Course NDC Class 60 Rice production has long played a vital role in Thailand’s socio-economic development and Thai Hom Mali rice, or Thai jasmine rice, was named the best rice in the world.Thai rice remains competitive in international markets and the export priceof Thai rice is on the increase. However, many Thailand rice exporters are concerned the entry of less expensive fragrant rice from neighboring countries such as Cambodia that may increase competition for Thai Hommali rice. This research was qualitative research. The objectives of this research were to study the development of innovative marketing channels to promote export of Thai Hom Mali Rice (Premium Quality) through the Institute for Agricultural Product Innovation (APi) under Department of Foreign Trade, Ministry of Commerce, including establish related guidelines. The methods used in this study were in-depth interview of 4 key informants involved in the rice production and rice exportation. The results of the analysis have shown that guidelines for developing innovative marketing channels to promote export of Thai Hom Mali Rice (Premium Quality) through APi comprised of 2 frameworks (short term frameworks and Long-term frameworks). As for a short term framework, APi must have to initiate organizational agility and ability to handle change in external circumstance, implementation of strategy, capability (needed to modify toward specific change), certain marketing activities, especially digital marketing. For a long-term framework, APi would be able to gain competency and flexibility by establishing to be a public organization under the supervisionof Minister of Commerce.